Page 88 - InsuranceHandbook
P. 88

บทที่ 5 หลักส�าคัญของสัญญาประกันภัย  69





 4. หลักการรบช่วงสิทธิ (Principle of Subrogation)  การกระทำของมนุษย์ เช่น ภูเขาไฟระเบิด แผ่นดินไหว ฟ้าผ่า อุทกภัย วาตภัย เป็นตน การรับช่วงสิทธิจะเกิดขึ้นได้
 ั
                                                                                    ้
                                                                                     ิ
 หลักการรับช่วงสิทธิ เป็นหลักกฎหมายที่สนับสนุนหลักการชดใช้ค่าสินไหมทดแทน มใช้เฉพาะในการ  ก็ต่อเมื่อเป็นวินาศภัยที่เกิดขึ้นจากการกระทำของมนุษย์เท่านั้น และผู้ก่อให้เกดวินาศภัยนั้นจะต้องไม่ใช่
 ี
 ประกนวินาศภัยเท่านั้น โดยสิทธินี้จะเกิดขึ้นภายหลังจากที่ผู้รับประกันภัยได้จ่ายค่าสินไหมทดแทนให้แก่               ผู้เอาประกันภัย หรือผู้รับประโยชน์ เพราะการเกิดวินาศภัยด้วยความทุจริต หรือประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรงของ
 ั
                                              ื
                        ั
                                                                      ั
 ั
 ่
 ผู้เอาประกนภัย ซงเป็นผู้ได้รับความเสียหายจากการกระทำละเมิดของคู่กรณีหรือบุคคลภายนอก ไปแล้วเป็นจำนวน  ผู้เอาประกนภัยหรือผู้รับประโยชน์ ถอว่าเป็นภาวะภัยที่ผู้รับประกนภัยไม่ต้องรับผิดชดใช้ค่าสินไหมทดแทนตาม
 ึ
                         ั
 ั
 เท่าไร ผู้รับประกนภัยจะได้รับช่วงสิทธิจากผู้เอาประกันภัยในการไปไล่เบี้ยเรียกร้องค่าสินไหมทดแทนที่จ่ายไปแล้ว  สัญญาประกนภัยอยู่แล้ว
 นั้นคืนจากคู่กรณีหรือบุคคลภายนอกนั้น
                                                                               ิ
                                              ั
                                        ี
                                                                                                         ั
                      หลักการรับช่วงสิทธิมความสมพันธ์อย่างใกล้ชิดกับหลักการชดใช้ค่าสนไหมทดแทน การที่ผู้รับประกนภัย
                                                                                           ั
 ตัวอย่าง การที่รถยนต์นั่งส่วนบุคคลของ นาย ก. ซึ่งเอาประกนภัยรถยนตภาคสมัครใจประเภท 1 ไว้กับ  จะรับช่วงสิทธิจากการจ่ายค่าสินไหมทดแทนของตนได้ ต้องเป็นการจ่ายค่าสินไหมทดแทนอนเนื่องมาจากการเกิด
 ์
 ั
                                                                                                             ี
                                                       ั
 บริษัทประกนภัย A ถูกรถเมล์เล็ก ซึ่ง นาย ข. เป็นเจ้าของและผู้ขับขี่ชนท้ายได้รับความเสียหาย ในอุบัติเหตุครั้งนี้   วินาศภัยที่อยู่ในความรับผิดตามสัญญาประกนภัยเท่านั้น การจ่ายค่าสินไหมทดแทนโดยสำคัญผิดว่าตนม
 ั
                                                   ั
                                                                ั
                             ั
                                       ั
 ่
 ึ
 นาย ก. ซึ่งเป็นผู้เสียหายได้แจ้งเหตุไปยังบริษัทประกันภัย A ทันที ซงบริษัทได้ส่งเจ้าหน้าที่มายังที่เกิดเหตุและ  ความรับผิดตามสญญาประกนภัย เช่น สำคญว่าผู้เอาประกนภัยมีส่วนได้เสียในวัตถุที่เอาประกันภัยในขณะที่เกิด
 ดำเนินการตามขั้นตอนต่าง ๆ จนเรียบร้อยและคู่กรณีคือ นาย ข. ก็ยอมรับผิด ภายหลังจากที่บริษัทประกันภัย A ได ้  วินาศภัยหรือโดยสำคัญผิดว่ากรมธรรม์ประกันภัยมีผลบังคับในขณะเกิดวินาศภัย ผู้รับประกันภัยไม่มีสิทธิ์ไปรับช่วง
 ั
 ่
 ิ
 ั
 ดำเนนการซอมแซมรถของ นาย ก. กลับคืนสู่สภาพเดิมแล้ว บริษทประกนภัย A จะรับช่วงสิทธิจาก นาย ก. ไป  สิทธิจากผู้เอาประกันภัยหรือผู้รับประโยชน์ตามกฎหมาย
                                                                            ่
                                                                            ึ
 เรียกร้องค่าสินไหมทดแทนคนจาก นาย ข. ซึ่งในทางปฏิบัติ บริษัทประกันภัย A อาจจะเรียกร้องได้ไม่เต็มจำนวน   นอกจากนี้ การชดใช้สินไหมกรุณา (Ex Gratia Payment) ซงเป็นเงินที่ผู้รับประกันภัยจ่ายให้แก่
 ื
                             ึ
                                                                                 ็
                                                                                          ิ
                             ่
                                                                         ี
 ั
 ั
 เพราะ นาย ข. ไม่มีเงินพอที่จะชดใช้  และไม่ได้เอาประกนภัยรถยนต์ภาคสมครใจไว้เลย แต่ถ้า นาย ข. ได้           ผู้เอาประกันภัยซงเป็นผู้เรียกร้องค่าเสียหาย แม้ผู้รับประกันภัยจะมความเหนว่าการเกดวินาศภัยนั้นไม่อยู่ใน
                                                                  ื
                                       ั
                              ั
                                                                     ่
 ิ
 ็
 ั
 ์
 เอาประกันภัยรถยนตภาคสมัครใจไว้กบบริษัทประกันภัย B บริษัทประกันภัย A กจะไปดำเนนการเรียกร้อง          ความรับผิดตามสญญาประกนภัย เช่น เป็นภัยที่ยกเว้น หรอไมได้ซื้อการขยายความคุ้มครองไว้ โดยหลักการ
                                                                                      ั
 ค่าสินไหมทดแทนคืนจากบริษัทประกันภัย B โดยตรง    ชดใช้ค่าสินไหมทดแทนแล้วผู้รับประกันภัยไม่ต้องชดใช้ค่าสินไหมทดแทนให้ผู้เอาประกนภัย แต่ด้วยเหตุผลทางด้าน
                                                        ั
              การตลาดผู้รับประกันภัยมีความเห็นใจผู้เอาประกนภัยในความเสยหายที่เกิดขึ้น จึงตัดสินใจจ่ายเงินจำนวนหนึ่งให้
                                                                    ี
              ผู้เอาประกันภัยรับไปบรรเทาความเสียหาย กรณีนี้ ผู้รับประกันภัยย่อมไม่ได้รับช่วงสิทธิตามกฎหมาย
                      หลักการรับช่วงสิทธิมีการใช้ ดังนี้
                                                         ั
                                                                                ี
                                   ั
                      1. ในการประกนวินาศภัย เช่น การประกนภัยรถยนต์ภาคสมัครใจ มการบัญญัติไว้ในประมวลกฎหมาย
                            ์
                          ิ
                 ่
                                                                                              ุ
              แพงและพาณชย มาตรา 880 วรรคแรกว่า “ถ้าความวินาศนั้นได้เกิดขึ้นเพราะการกระทำของบคคลภายนอกไซร้
              ผู้รับประกันภัยได้ใช้ค่าสินไหมทดแทนไปเป็นจำนวนเพียงใด ผู้รับประกันภัยย่อมเข้ารับช่วงสิทธิของ
              ผู้เอาประกันภัยและของผู้รับประโยชน์ซงมีต่อบุคคลภายนอกเพยงนั้น” เช่น นาย ค. ได้เอาประกันภัยรถยนตภาค
                                                                                                         ์
                                                ่
                                                                   ี
                                                ึ
                                               ั
              สมัครใจประเภท 3+ ไว้กับบริษัทประกนภัย C โดยคุ้มครองความเสียหายต่อรถยนต์ที่เอาประกันภัย เนื่องจากการ
                                     ้
                                                                                                          ้
              ชนกับยานพาหนะทางบกดวยกนเท่านั้นในวงเงิน 100,000 บาท หากรถของ นาย ค. ถกรถของ นาย ง. ชนไดรับ
                                         ั
                                                                                       ู
                                                                           ่
              ความเสยหายเป็นเงิน 120,000 บาท เมื่อบริษัทประกันภัย C ได้ชดใช้คาสนไหมทดแทนให้แก่นาย ค. เต็มวงเงิน
                                                                             ิ
                     ี
                                                                               ื่
              100,000 บาทแล้ว  บริษัทประกันภัย C ก็สามารถรับช่วงสิทธิจาก นาย ค. เพอที่จะไปเรียกร้องค่าเสียหายคืนจาก
              นาย ง. ได้ในวงเงิน 100,000 บาทเท่านั้น
 รูปภาพที่ 5-1 การรับช่วงสิทธิของผู้รับประกันภัย
                                                 ิ
                      ประมวลกฎหมายแพงและพาณชย์ มาตรา 880 วรรคสอง ได้บัญญัติต่อไปว่า “ถ้าผู้รับประกันภัยได้ใช้
                                        ่
                                   ่
                                     ี
              ค่าสินไหมทดแทนไปแตเพยงบางสวนไซร้ ท่านห้ามมิให้ผู้รับประกันภัยนั้นใช้สิทธิของตนให้เสื่อมเสียสิทธิของ
                                            ่
 ี
 วัตถุประสงค์ของหลักการรับช่วงสิทธิม 2 ประการ คือ   ผู้เอาประกันภัย หรือผู้รับประโยชน์ ในการที่เขาจะเรียกร้องเอาค่าสินไหมทดแทนจากบคคลภายนอกเพอเศษแห่ง
                                                                                       ุ
                                                                                                     ื่
 1. เพอป้องกันไม่ให้ผู้เอาประกันภัยได้รับชดใช้เกินจากความเสียหายที่ตนได้รับ ถ้าไม่มหลักการรับช่วงสิทธิ  จำนวนวินาศนั้น” คำว่า “เสื่อมเสียสิทธิ” ในที่นี้เป็นการที่กฎหมายบัญญัติให้ผู้รับประกันภัยต้องไม่ทำให้
 ี
 ื่
 ี
 นี้ อาจจะทำให้เกิดภาวะภัยทางศลธรรมของผู้เอาประกนภัย โดยการไปเรียกร้องค่าเสียหายจากคู่กรณีซึ่งเป็น         ผู้เอาประกนภัยเสียสิทธิในการไปเรียกร้องค่าสินไหมทดแทนจากผู้ก่อความเสยหายหากความเสียหายที่เกิดขึ้นนั้น
 ั
                       ั
                                                                               ี
 ้
 ผู้ที่มาทำความเสียหายต่อผู้เอาประกันภัย หลังจากนั้น ก็มาเรียกร้องค่าสินไหมทดแทนจากบริษัทประกันภัยที่ตนได       ผู้รับประกนภัยยังชดใช้ให้ผู้เอาประกันภัยไม่เต็มตามความเสียหายที่เกิดขึ้น จากตัวอย่างข้างต้น เนื่องจาก นาย ค. มี
                       ั
 เอาประกันภัยไว้อีก   ความเสียหาย 120,000 บาท แต่ได้รับชดใช้จากบริษัทประกนภัย C 100,000 บาทเต็มตามวงเงินที่ได้เอาประกันภัย
                                                                ั
 2. เพื่อให้เกิดความมนใจว่า บุคคลภายนอกซงเป็นผู้ที่มาทำความเสียหายต่อผู้เอาประกันภัยต้องรับผิดชอบ  ไว้ บรษทประกนภัย C จะมีสิทธิไปเรียกร้องค่าสินไหมทดแทนคืนจาก นาย ง. ได 100,000 บาทตามที่ตนจ่ายไป
 ึ่
 ั่
                           ั
                                                                                  ้
                   ิ
                     ั
 ้
 ต่อการกระทำละเมิดของเขา ถึงแมว่าผู้เอาประกันภัยจะได้รับชดใช้จากผู้รับประกันภัยแล้วก็ตาม   ส่วนนาย ค. กมีสิทธิไปเรียกร้องค่าสินไหมทดแทนจาก นาย ง. ได้ 20,000 บาท บริษัทประกันภัย C ไมสามารถรับ
                                                                                                    ่
                          ็
 อยางไรก็ตาม วินาศภัยที่อยู่ในความรับผิดต้องชดใช้ค่าสินไหมทดแทนตามสัญญาประกันภัยนั้น มีทั้งกรณีที่  ช่วงสทธิไปเรียกร้องเตมตามความเสียหาย 120,000 บาท หากทำเช่นนั้น นาย ค.จะเสียสิทธิไป 20,000 บาท
 ่
                   ิ
                                  ็
 ั
 เกิดขึ้นจากการกระทำของมนุษย์ เช่น คู่กรณีขับมาเฉี่ยวชนรถของผู้เอาประกนภัย และกรณีที่เกิดขึ้นนอกเหนือจาก
                                       ิ
                                       ์
                                      ิ
                                   ลขสทธของสมาคมประกนวนาศภยไทย หามนาไปใช้ในการแสวงหากําไรทางการคา ้
                                    ิ
                                                             ้
                                                               ํ
                                                        ั
                                                  ั
                                                    ิ
   83   84   85   86   87   88   89   90   91   92   93