Page 89 - InsuranceHandbook
P. 89
70 คู่มือประกันวินาศภัยไทย
Thai General Insurance Handbook
ในทางกลับกัน นาย ค. ไม่สามารถไปเรียกร้องเต็ม 120,000 บาทได้เพราะสิทธิของ นาย ค. ได้ถูกบริษัทประกันภัย
C รับช่วงไปแล้ว 100,000 บาท
้
ิ
ั
2. ในการประกันชีวิต จะไมใช้หลักการรับช่วงสทธิตามที่ได้อธิบายขางต้น ทั้งนี้เพราะการประกนชีวิต
่
ุ
การประกันภัยอบัติเหตุส่วนบคคล และการประกันภัยอบัติเหตุการเดินทางเฉพาะส่วนที่เป็นผลประโยชน์การ
ุ
ุ
เสียชีวิต สูญเสียอวัยวะ หรือทุพพลภาพนั้น เป็นสัญญาประกันภัยแบบกำหนดมูลค่า เนื่องจากชีวิตหรืออวัยวะส่วน
หนึ่งส่วนใดของร่างกายเรานั้นมีค่ามากจนไม่สามารถจะประเมินค่าออกมาเป็นตัวเงินที่แน่นอนได้
์
่
ิ
ตามประมวลกฎหมายแพงและพาณชย มาตรา 896 บัญญัติไว้ว่า “ถ้ามรณภัยเกิดขึ้นเพราะความผิดของ
่
ี
บุคคลภายนอก ผู้รับประกันภัยหาอาจจะเรยกเอาค่าสินไหมทดแทนจากบุคคลภายนอกนั้นได้ไม่ แต่สิทธิของฝาย
้
ั
ั
ทายาทแห่งผู้มรณะในอนจะได้ค่าสนไหมทดแทนจากบคคลภายนอกนนหาสูญสิ้นไปด้วยไม่ แม้ทงจำนวนเงนอนจะ
ิ
้
ั
ุ
ิ
ั
ั
พึงใช้ตามสัญญาประกนชีวิตนั้นจะหวนกลับมาได้แก่ตนด้วย”
ื
ั
จากประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 896 นี้ จะเห็นได้ว่า ในกรณีที่ผู้เอาประกนชีวิต หรอ
ผู้เอาประกนภัยอุบติเหตุส่วนบคคล หรือผู้เอาประกันภัยอบัติเหตุการเดินทาง เสียชีวิตเนื่องจากถูกรถชน ถึงแม้ว่า
ุ
ั
ั
ุ
ผู้รับประกันภัยจะได้ชดใช้คาสินไหมมรณกรรมแก่ผู้รับประโยชน์ไปแล้วก็ตาม ผู้รับประกันภัยก็ไม่สามารถจะรับ
่
ช่วงสิทธิจากผู้รับประโยชน์ เพื่อไปเรียกร้องค่าสินไหมทดแทนจากเจ้าของรถที่มาละเมิดนั้น ในขณะที่ผู้รับประโยชน์
่
และทายาทของผู้เสียชีวิตที่ถูกรถชน ยังมีสิทธิที่จะดำเนินการตามกฎหมาย เพอไปเรียกร้องค่าเสียหายเพิมเติมจาก
ื่
ี
คู่กรณี คือ เจ้าของรถที่มาละเมิดนั้นได้อกถึงแม้ว่าจะได้รับค่าสินไหมมรณกรรมจากผู้รับประกันภัยไปแล้ว
5. หลักการร่วมชดใช้ค่าสินไหมทดแทน หรือหลักการร่วมชดใช้ (Principle of Contribution)
หลักการร่วมชดใช้ค่าสินไหมทดแทนเป็นหลักที่สนับสนุนหลักการชดใช้ค่าสินไหมทดแทน ซงในทางปฏิบัติ
่
ึ
ื
็
ั
อาจจะเปนไปได้ที่ผู้เอาประกนภัยรายหนึ่งอาจจะเอาประกันภัยทรัพย์สินของเขา เช่น อาคาร หรอ โรงงาน
ื่
ี
อุตสาหกรรมขนาดใหญ่ ซึ่งมมูลค่าสูงมาก ไว้กบผู้รับประกันภัยหลายรายเพอเป็นการกระจายความเสยง หรือ
่
ี
ั
อาจจะเป็นภัยที่มีความเสี่ยงสูง เช่น เคยมีประวัติความเสยหายในช่วง 2-3 ปีที่ผ่านมาค่อนข้างบอย ทำให้ไม่มี
่
ี
ผู้รับประกันภัยรายหนึ่งรายใดต้องการจะรับประกันภัยนั้นเองทั้งหมด จึงต้องหาผู้รับประกันภัยหลายรายมาร่วมกัน
ั
รับประกันภัยนั้น เมื่อเกิดวินาศภัย เช่น ไฟไหม้ทรัพย์สินที่รับประกนภัยไว้ ก็เป็นหน้าที่ของผู้รับประกันภัยแต่ละราย
ที่จะต้องร่วมกันชดใช้ค่าสินไหมทดแทนตามส่วนที่ตนได้รับประกันภัยไว้
การร่วมชดใช้ค่าสินไหมทดแทน (Contribution) นี้เป็นสิทธิของผู้รับประกันภัยรายหนึ่งรายใดที่จะ
เรียกร้องให้ผู้รับประกันภัยรายอนที่ร่วมกันรับประกันภัยนี้มาร่วมกนชดใช้ค่าเสียหายที่เกิดขึ้นตามสัดส่วนของ
ื่
ั
จำนวนเงินเอาประกันภัยที่มีอยู่
รูปภาพที่ 5-2 การร่วมชดใช้ค่าสินไหมทดแทน
ั
ั
ิ
์
ิ
ํ
ิ
้
ลขสทธของสมาคมประกนวนาศภยไทย หามนาไปใช้ในการแสวงหากําไรทางการคา ้
ิ