Page 86 - InsuranceHandbook
P. 86
บทที่ 5 หลักส�าคัญของสัญญาประกันภัย 67
3.2 วิธีการชดใช้ค่าสินไหมทดแทน
ในกรณของการประกนวินาศภัย เมื่อมีความเสียหายที่ได้รับการคุ้มครองตามสัญญาประกนภัย
ั
ั
ี
ผู้รับประกันภัยจะต้องชดใช้ค่าสินไหมทดแทนให้แก่ผู้เอาประกันภัยหรือผู้รับประโยชน์ ซึ่งผู้รับประกันภัยสามารถจะ
เลือกได้ 4 วิธีด้วยกันคือ
3.2.1 การจ่ายเป็นตัวเงิน (Cash Payment) เป็นวิธีที่นิยมใช้กันมากที่สุด เช่น หากบ้าน
ั
ั
ที่เอาประกันภัยไว้ได้รับความเสียหายจากอคคีภัย ผู้รับประกันภัยจะประเมินค่าเสียหายและตกลงกบ
ผู้เอาประกันภัย โดยชดใช้ให้เป็นตัวเงิน และให้ผู้เอาประกันภัยไปจัดการซ่อมแซมส่วนที่เสียหายเอง ในกรณี
็
ั
ผู้เอาประกันภัยขับรถไปเฉี่ยวชนรถคู่กรณีเสียหาย ผู้รับประกนภัยกจะชดใช้ค่าสินไหมทดแทนเป็นตัวเงินให้คู่กรณี
ไปจดการซอมรถของเขาเอง วิธีนี้มีความสะดวกและกอให้เกิดความพึงพอใจทั้ง 2 ฝ่าย โดยผู้เอาประกันภัย
ั
่
่
หรือคู่กรณีรับเงินแล้วไปหาช่างหรืออูที่พอใจซ่อมเองได้ ส่วนผู้รับประกันภัยก็ไม่ต้องกังวลว่าซ่อมเสร็จแล้ว
่
ผู้เอาประกันภัยหรือคู่กรณียังไม่พอใจในคุณภาพของงานซ่อมนั้นหรือมีค่าซ่อมบานปลายกว่าที่ประมาณไว้ครั้งแรก
ั
3.2.2 การซ่อมแซม (Repair) เป็นวิธีที่นิยมใช้ในการประกนภัยบางประเภทซึ่งเกิดความเสียหายเพียง
ิ
้
บางส่วน และอยู่ในวิสัยที่จะซ่อมแซมให้กลับคืนสู่สภาพเดิมได การชดใช้ค่าสินไหมทดแทนโดยการซ่อมแซมนยมใช้
ในการประกันภัยรถยนต์ เมื่อรถยนต์ที่เอาประกันภัยไว้ได้รับความเสียหายจากอบัติเหตุ เช่น ประตูรถบุบและครูด
ุ
่
แทนที่ผู้รับประกนภัยจะจายเงนค่าซ่อมรถให้แก่ผู้เอาประกันภัยหรือคู่กรณี ผู้รับประกันภัยจะจัดการซอมรถยนต์
่
ั
ิ
ของผู้เอาประกันภัยหรือคู่กรณีที่อูในเครือของผู้รับประกันภัยให้กลับสู่สภาพเดิม ทำให้ผู้รับประกันภัยสามารถ
่
ื
ั
่
ั
่
ควบคุมคาสินไหมทดแทนที่จะต้องจ่ายและป้องกนความไม่ซอสตย์ของผู้เอาประกันภัยหรือคู่กรณีที่อาจจะเกิดขึ้นได้
ด้วย
3.2.3 การจัดหาสิ่งทดแทน (Replacement) เป็นการชดใช้ค่าสินไหมทดแทนที่ผู้รับประกันภัยจะต้อง
จัดหาสิ่งของทดแทนที่เป็นชนิด ประเภท และคุณภาพเดียวกับทรัพย์สินที่เอาประกันภัยโดยไม่จ่ายเป็นตัวเงินให้
ผู้เอาประกันภัยไปดำเนินการเอง เช่น กรณีที่เกิดความเสียหายกับรถยนต์ที่เอาประกันภัยและมไฟท้ายหรือกันชน
ี
หลังของรถยนต์เสียหายจากการถูกชน ผู้รบประกนภัยกจะหาชิ้นส่วนแบบเดียวกันและมีสภาพใกล้เคียงกับชิ้นส่วน
ั
็
ั
นั้นก่อนที่จะได้รับความเสียหายมาเปลี่ยนแทน หากเป็นรถใหม่ผู้รับประกันภัยก็จะเปลี่ยนด้วยชิ้นส่วนใหม่ แต่ถ้า
เป็นรถที่ผ่านการใช้งานมาแล้วหลายปี ผู้รับประกันภัยก็จะเปลี่ยนด้วยชิ้นส่วนใช้แล้วที่ยังมีสภาพดี เป็นต้น สำหรับ
ซากชิ้นส่วนเดิมที่เสียหายนั้นก็จะตกเป็นกรรมสิทธิ์ของผู้รับประกันภัยไป
ี
้
3.2.4 การทำให้กลับคืนสู่สภาพเดิม (Reinstatement) วิธีนนยมใช้ในการประกนภัยทรพย์สนบาง
ิ
ั
ิ
ั
ี
ั
ั
ั
ประเภท เช่น การประกนอคคีภัย เมื่อทรัพย์สินที่เอาประกนภัยไว้ได้รับความเสยหายจากไฟไหม้ และไม่สามารถ
ซ่อมแซม หรือจัดหาสิ่งของมาทดแทนได ผู้รับประกันภัยก็จะจัดการสร้างอาคารที่ได้รับความเสียหายขึ้นใหม่ ให้มี
้
่
สภาพใกล้เคียงก่อนที่อาคารนั้นจะได้รับความเสียหายเพือให้ผู้เอาประกันภัยสามารถใช้ประโยชน์ได้เหมือนเดิม
่
็
อยางไรกตาม วิธีนี้มีปัญหาในทางปฏิบัติ ผู้รับประกันภัยในประเทศไทยจึงไม่นิยมใช้วิธีนี้เนื่องจากมีค่าใช้จ่ายสูง มี
ื
ื่
ข้อจำกัดทางกฎหมาย หรอผู้เอาประกนภัยอาจไมพอใจในอาคารที่ผู้รับประกันภัยสร้างขึ้นเพอทดแทนอาคารเดิมที่
่
ั
้
ไดรับความเสียหายและไม่ยอมรับมอบงาน
ิ
ั
ํ
้
ั
ิ
ลขสทธของสมาคมประกนวนาศภยไทย หามนาไปใช้ในการแสวงหากําไรทางการคา ้
ิ
ิ
์