Page 90 - InsuranceHandbook
P. 90
บทที่ 5 หลักส�าคัญของสัญญาประกันภัย 71
ิ
่
ั
ี
ั
ในทางกลับกัน นาย ค. ไม่สามารถไปเรียกร้องเต็ม 120,000 บาทได้เพราะสิทธิของ นาย ค. ได้ถูกบริษัทประกันภัย หลักการร่วมชดใช้คาสนไหมทดแทนน้จะใช้เฉพาะการประกนวินาศภัย เช่น การประกันอคคีภัย
C รับช่วงไปแล้ว 100,000 บาท การประกันภัยความเสี่ยงภัยทรัพย์สิน เป็นต้น ซึ่งเป็นสัญญาที่ชดใช้ค่าเสียหายตามที่เกิดขึ้นจริงเท่านั้น
2. ในการประกันชีวิต จะไมใช้หลักการรับช่วงสทธิตามที่ได้อธิบายขางต้น ทั้งนี้เพราะการประกนชีวิต หลักการร่วมชดใช้ค่าสินไหมทดแทนน้จะไมใช้กับสัญญาประกันภัยที่ชดใช้จำนวนเงินที่แน่นอน เช่น
่
้
่
ั
ี
ิ
ั
ุ
การประกันภัยอบัติเหตุส่วนบคคล และการประกันภัยอบัติเหตุการเดินทางเฉพาะส่วนที่เป็นผลประโยชน์การ การประกนชีวิต การประกนภัยอบัติเหตุส่วนบุคคล หรือการประกันภัยอุบติเหตุการเดินทางเฉพาะส่วนที่เป็น
ั
ุ
ุ
ุ
ั
เสียชีวิต สูญเสียอวัยวะ หรือทุพพลภาพนั้น เป็นสัญญาประกันภัยแบบกำหนดมูลค่า เนื่องจากชีวิตหรืออวัยวะส่วน ผลประโยชนการเสียชีวิต สูญเสียอวัยวะและสายตา ทุพพลภาพ เงินชดเชยรายวัน ทั้งนี้เพราะชีวิตหรออวัยวะ
์
ื
หนึ่งส่วนใดของร่างกายเรานั้นมีค่ามากจนไม่สามารถจะประเมินค่าออกมาเป็นตัวเงินที่แน่นอนได้ ส่วนหนึ่งส่วนใดของร่างกายเรามีค่ามากจนไม่สามารถประเมินค่าเป็นตัวเงินที่แน่นอนได้
่
์
ิ
ตามประมวลกฎหมายแพงและพาณชย มาตรา 896 บัญญัติไว้ว่า “ถ้ามรณภัยเกิดขึ้นเพราะความผิดของ หลักการร่วมชดใช้ค่าสินไหมทดแทนจะใช้ได้เฉพาะในกรณที่เข้าเงื่อนไขทง 5 ประการต่อไปนี้
ี
ั้
บุคคลภายนอก ผู้รับประกันภัยหาอาจจะเรยกเอาค่าสินไหมทดแทนจากบุคคลภายนอกนั้นได้ไม่ แต่สิทธิของฝาย 1. มกรมธรรม์ประกนภัยที่ชดใช้ค่าเสียหายตามทเกิดขึ้นจริงตั้งแต่ 2 ฉบับขึ้นไป เช่น มีกรมธรรม์ประกันภัย
ี
่
ี่
ี
ั
ั
ุ
ทายาทแห่งผู้มรณะในอนจะได้ค่าสนไหมทดแทนจากบคคลภายนอกนนหาสูญสิ้นไปด้วยไม่ แม้ทงจำนวนเงนอนจะ ความเสี่ยงภัยทรัพย์สิน 4 ฉบับ ซึ่งเอาประกนภัยไว้กับผู้รับประกนภัย ก. ผู้รับประกันภัย ข. ผู้รับประกนภัย ค. และ
้
ั
ั
ิ
ั
ิ
้
ั
ั
ั
ั
พึงใช้ตามสัญญาประกนชีวิตนั้นจะหวนกลับมาได้แก่ตนด้วย” ผู้รับประกันภัย ง.
ื
จากประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 896 นี้ จะเห็นได้ว่า ในกรณีที่ผู้เอาประกนชีวิต หรอ 2. กรมธรรมประกันภัยเหล่านี้คุ้มครองสิทธิส่วนได้เสียในฐานะเดียวกัน เช่น เปนเจ้าของอาคาร หรือ
ั
็
์
ุ
ผู้เอาประกนภัยอุบติเหตุส่วนบคคล หรือผู้เอาประกันภัยอบัติเหตุการเดินทาง เสียชีวิตเนื่องจากถูกรถชน ถึงแม้ว่า โรงงานที่เอาประกันภัย
ั
ั
ุ
่
์
ผู้รับประกันภัยจะได้ชดใช้คาสินไหมมรณกรรมแก่ผู้รับประโยชน์ไปแล้วก็ตาม ผู้รับประกันภัยก็ไม่สามารถจะรับ 3. กรมธรรมประกันภัยเหล่านี้คุ้มครองภัยซึ่งก่อให้เกิดความเสียหายที่เหมือนกัน เช่น คุ้มครอง
ช่วงสิทธิจากผู้รับประโยชน์ เพื่อไปเรียกร้องค่าสินไหมทดแทนจากเจ้าของรถที่มาละเมิดนั้น ในขณะที่ผู้รับประโยชน์ ความเสียหายต่อทรัพย์สินที่เอาประกันภัยจากอัคคีภัยเหมือนกัน
ื่
และทายาทของผู้เสียชีวิตที่ถูกรถชน ยังมีสิทธิที่จะดำเนินการตามกฎหมาย เพอไปเรียกร้องค่าเสียหายเพิมเติมจาก 4. กรมธรรม์ประกันภัยเหล่านี้คุ้มครองสิ่งที่เอาประกันภัยไว้เหมือนกัน เช่น กรมธรรม์ประกันภัยทุกฉบับที่
่
คู่กรณี คือ เจ้าของรถที่มาละเมิดนั้นได้อกถึงแม้ว่าจะได้รับค่าสินไหมมรณกรรมจากผู้รับประกันภัยไปแล้ว มีอยู่ คุ้มครองสิ่งปลูกสร้างคือ ตัวอาคาร หรือโรงงานเดียวกัน
ี
5. กรมธรรม์ประกันภัยแต่ละฉบับต้องมีผลบังคับอยู่ ณ เวลาที่เกิดวินาศภัยขึ้น
5. หลักการร่วมชดใช้ค่าสินไหมทดแทน หรือหลักการร่วมชดใช้ (Principle of Contribution) ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 870 บัญญัติว่า “ถ้าได้ทำสัญญาประกันภัยเป็นสองรายหรือกว่า
ั
่
หลักการร่วมชดใช้ค่าสินไหมทดแทนเป็นหลักที่สนับสนุนหลักการชดใช้ค่าสินไหมทดแทน ซงในทางปฏิบัติ นั้นพร้อมกันเพือความวินาศภัยอนเดียวกัน และจำนวนเงินซึ่งเอาประกันภัยรวมกันทั้งหมดนั้นท่วมจำนวนที่วินาศ
ึ
่
ี
ั
่
่
ิ
ั
็
ั
อาจจะเปนไปได้ที่ผู้เอาประกนภัยรายหนึ่งอาจจะเอาประกันภัยทรัพย์สินของเขา เช่น อาคาร หรอ โรงงาน จริงไซร้ ท่านว่าผู้รับประโยชน์ชอบที่จะได้รับคาสนไหมทดแทนเพยงเสมอจำนวนวินาศจริงเทาน้น ผู้รับประกนภัย
ื
ื่
่
ี
ี
อุตสาหกรรมขนาดใหญ่ ซึ่งมมูลค่าสูงมาก ไว้กบผู้รับประกันภัยหลายรายเพอเป็นการกระจายความเสยง หรือ แต่ละคนต้องใช้เงินจำนวนวินาศจริงแบ่งตามส่วนมากน้อยเท่าที่ตนได้รับประกันภัยไว้
ั
ั
่
อาจจะเป็นภัยที่มีความเสี่ยงสูง เช่น เคยมีประวัติความเสยหายในช่วง 2-3 ปีที่ผ่านมาค่อนข้างบอย ทำให้ไม่มี อนสัญญาประกันภัยทั้งหลาย ถ้าลงวันเดียวกันท่านให้ถือว่าได้ทำพร้อมกัน
ี
ั
็
ผู้รับประกันภัยรายหนึ่งรายใดต้องการจะรับประกันภัยนั้นเองทั้งหมด จึงต้องหาผู้รับประกันภัยหลายรายมาร่วมกัน ถ้าได้ทำสัญญาประกนภัยเปนสองรายหรือกว่านั้นสืบเนื่องเป็นลำดับกัน ท่านว่าผู้รับประกันภัยคนแรก
ั
่
่
รับประกันภัยนั้น เมื่อเกิดวินาศภัย เช่น ไฟไหม้ทรัพย์สินที่รับประกนภัยไว้ ก็เป็นหน้าที่ของผู้รับประกันภัยแต่ละราย จะต้องรับผิดเพือความวินาศภัยกอน ถ้าและจำนวนเงินซึ่งผู้รับประกนภัยคนแรกได้ใช้นั้นยังไม่คุ้มจำนวนวินาศภัย
ั
ที่จะต้องร่วมกันชดใช้ค่าสินไหมทดแทนตามส่วนที่ตนได้รับประกันภัยไว้ ไซร้ ผู้รับประกันภัยคนถัดไปก็ต้องรับผิดในส่วนที่ยังขาดอยู่นั้นต่อ ๆ กันไปจนกว่าจะคุ้มวินาศ”
การร่วมชดใช้ค่าสินไหมทดแทน (Contribution) นี้เป็นสิทธิของผู้รับประกันภัยรายหนึ่งรายใดที่จะ จากประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 870 วรรคสองและวรรคสาม วันที่ที่กล่าวถึงนี้คือวันทำ
ั
ั
ั
ั
เรียกร้องให้ผู้รับประกันภัยรายอนที่ร่วมกันรับประกันภัยนี้มาร่วมกนชดใช้ค่าเสียหายที่เกิดขึ้นตามสัดส่วนของ สญญาประกันภัยซึ่งเป็นวันที่ผู้รับประกันภัยตกลงรบประกนภัย ไม่ใช่วันที่ผู้รับประกันภัยเริ่มต้นคุ้มครองหรือวันที่
ื่
จำนวนเงินเอาประกันภัยที่มีอยู่ ออกกรมธรรม์ประกันภัยแต่อย่างใด
อย่างไรก็ตาม ในกรณีที่วันทำสัญญาประกันภัยแต่ละฉบับไม่ใช่วันเดียวกันแล้ว ประมวลกฎหมายแพ่งและ
ื
พาณิชย์มาตรา 870 วรรคสาม ได้บัญญัติไว้ว่า “ถ้าได้ทำสัญญาประกันภัยเป็นสองรายหรอกว่านั้น สืบเนื่องเป็น
้
ลำดับกัน ท่านว่า ผู้รับประกันภัยคนแรกจะต้องรับผิดเพอความวินาศภัยกอน ถาและจำนวนเงินซงผู้รับประกันภัย
ึ
ื
่
่
่
ั
คนแรกได้ใช้นั้น ยังไม่คุ้มจำนวนวินาศภัยไซร้ ผู้รับประกันภัยคนถัดไปก็ต้องรับผิดในส่วนที่ยังขาดอยู่นั้นต่อ ๆ กนไป
จนกว่าจะคุ้มวินาศ”
จากประมวลกฎหมายแพงและพาณชยมาตรา 870 วรรคสามนี้ เราจะเห็นได้ว่า การร่วมชดใช้
่
ิ
์
คาสนไหมทดแทนของผู้รับประกันภัยในกรณีที่มวันทำสัญญาประกันภัยไม่ใช่วันเดียวกัน จะเป็นลักษณะใครทำ
ี
ิ
่
ิ
สัญญารับประกันภัยก่อน ก็ต้องจ่ายค่าสินไหมทดแทนตามความเสียหายที่เกดขึ้นจริงก่อน ถ้าผู้รับประกันภัยรายนั้น
็
่
ั
ได้จ่ายค่าสินไหมทดแทนจนเตมจำนวนเงินเอาประกนภัยในสวนของตนไปแล้ว ก็เป็นหน้าที่ของผู้รับประกันภัยใน
ลำดับถัดไปที่จะต้องจ่ายค่าสินไหมทดแทนต่อไปจนครบตามความเสียหายที่เกิดขึ้นจริง
รูปภาพที่ 5-2 การร่วมชดใช้ค่าสินไหมทดแทน
ลขสทธของสมาคมประกนวนาศภยไทย หามนาไปใช้ในการแสวงหากําไรทางการคา ้
ิ
ั
ิ
ํ
้
์
ิ
ั
ิ