Page 75 - InsuranceHandbook
P. 75
56 คู่มือประกันวินาศภัยไทย
Thai General Insurance Handbook
คำรับรองในกรมธรรม์ประกันภัย สามารถแยกออกเป็น
ั
2.3.1 คำรับรองโดยชัดแจ้ง หรือคำรับรองเป็นลายลักษณ์อกษร (Express Warranties) เป็นการให้คำมั่น
ของผู้เอาประกันภัยที่ระบุเป็นลายลักษณ์อักษรไว้ในกรมธรรม์ประกันภัยว่า จะต้องกระทำหรือไม่กระทำการใด หรือ
รับรองว่าสิ่งใดมีอยู่หรือไม่มีอยู่ เช่น
้
ิ
ั
ิ
(1) ผเอาประกันภัยจะตดตังอปกรณบางอย่าง เช่น อปกรณดบเพลง สญญาณกันขโมย กลองวงจรปด ที่ใช้การ
ู
ุ
์
ั
้
ิ
้
์
ุ
ได้ตลอดเวลาในสถานที่เอาประกันภัยตามประเภทและจำนวนที่กำหนด
(2) ผู้เอาประกันภัยจะจัดให้มียามรักษาความปลอดภัยสถานที่เอาประกันภัยตลอด 24 ชั่วโมง
(3) ผู้เอาประกันภัยจะไม่เก็บวัสดุที่ไวต่อการเกิดไฟไหม้ไว้ในสถานที่เอาประกันภัยตามประเภทที่ระบุไว้และ
ไม่เกินปริมาณที่กำหนดไว้ เช่น ข้อรับรองข้อที่ 49 สินค้าอนตรายข้อ 3 ในสัญญาประกันอคคีภัยระบุว่า “ผู้เอา
ั
ั
ประกันภัยรับรองว่า ในระหว่างที่กรมธรรม์ประกันภัยนี้มีผลบังคับ ไม่มีการเก็บน้ำมันก๊าดเกินกว่า 1,800 ลิตรหรือ
ิ
่
ึ
่
น้ำมันเบนซิน หรือแก๊สโซลิน หรือน้ำมันยานยนต์อย่างใดอยางหนงเกนกว่า 900 ลิตร หรือไม้ขีดไฟเกินกว่า 4 หีบ
หรือประทัดเกินกว่า 4 หีบ หรือฝ้ายที่ยังมิได้อัดแน่นเป็นเบล หรือปอ นุ่น หญ้า และฟาง ไม่ว่าจะได้อดแน่นเป็นเบล
ั
แล้วหรือไม่ก็ตาม ไว้ในบริเวณที่เอาประกันภัยตามกรมธรรม์ประกันภัยฉบับนี้เป็นอันขาด”
2.3.2 คำรับรองโดยปริยาย หรือคำรับรองโดยนัย (Implied Warranties) เป็นคำรับรองที่มิได้ระบุเป็นลาย
ั
์
ลกษณอกษรในกรมธรรมประกนภัย แต่กฎหมายถือว่ามีคำรับรองประเภทนี้อยู่ในกรมธรรม์ประกันภัยและผู้เอา
์
ั
ั
่
ั
์
ี
ประกันภัยจะต้องถือปฏิบัติ เช่น ในการประกนภัยทางทะเลตามกรมธรรมประกันภัยแบบรายเทยว (Voyage
Policy) มีคำรับรองโดยปริยายว่า เรือจะต้องมีสภาพที่สามารถเดินทะเลได้อย่างปลอดภัยเมื่อเริ่มออกเดินทาง
หลักความสุจริตอย่างยิ่งนี้เป็นหลักเกณฑ์และวิธีปฏิบัติในสัญญาประกันภัย ซึ่งผู้เอาประกันภัยจะต้อง
ปฏิบัติในขณะขอเอาประกันภัย จนกระทั่งสัญญาประกันภัยนั้นเป็นผลสำเร็จใช้บังคับตามกฎหมาย และเมื่อ
สัญญาประกันภัยเกิดขึ้นแล้วยังต้องใช้หลักความสุจริตอย่างยิ่งนี้บังคับในการปฏิบัติตามสัญญาประกันภัยนั้นต่อไป
จนกว่าสัญญาประกันภัยจะสิ้นสุดลง
3. หลักการชดใช้ค่าสินไหมทดแทน (Principle of Indemnity)
่
ึ
ั
หลักการชดใช้ค่าสินไหมทดแทน เป็นหลักกฎหมายที่เกี่ยวข้องกบสัญญาประกันภัยซงมีความสำคัญมาก
ที่สุดอีกหลักหนึ่ง โดยมีวัตถุประสงค์ดังนี้
1. ชดใช้ตามที่เสียหายจริง เพื่อให้ผู้เอาประกันภัยกลับสู่สถานะการเงินเดิมก่อนที่จะมีวินาศภัยเกิดขึ้น
2. ผู้เอาประกันภัยจะไม่ได้รับกำไร หรือขาดทุนหลังจากที่มีวินาศภัยเกิดขึ้น
3. ป้องกันมิให้ผู้เอาประกนภัยได้กำไรจากการเอาประกันภัย
ั
4. ป้องกันมิให้เกิดความเสียหายโดยจงใจ
5. รักษาเบี้ยประกันภัยให้อยู่ในระดับที่เหมาะสม
หลักการชดใช้ค่าสินไหมทดแทนมีความสมพนธ์กับหลักส่วนได้เสียในเหตุที่เอาประกนภัย ทั้งนี้เพราะ
ั
ั
ั
ั
ั
้
ผู้เอาประกันภัยไดเอาประกันภัยในสิทธิ์ที่เขามีในสิ่งที่เอาประกนภัยนั้น เช่น นาย ก. เอาประกนอัคคีภัยในสิทธิ์ที่เขา
้
เป็นเจ้าของบาน ในกรณีที่มีวินาศภัยเกิดขึ้น นาย ก. ในฐานะผเอาประกนภัยจะได้รับชดใช้ค่าสินไหมทดแทนตาม
ั
้
ู
ความเสียหายที่เกิดขึ้นจริง แต่ไม่เกนจำนวนเงินที่เอาประกันภัยไว้ แต่ถ้า นาย ก. ไมได้เป็นเจ้าของบ้านหลังนั้นอีก
่
ิ
่
ั
ั
ต่อไป นาย ก. ก็ไม่มีสิทธิ์ที่จะเอาประกนภัยบ้านหลังนั้นได้อก และไม่มีสิทธิ์ที่จะได้รบชดใช้คาสนไหมทดแทนใน
ิ
ี
กรณีที่มีวินาศภัยเกดขึ้น
ิ
์
ิ
ิ
ลขสทธของสมาคมประกนวนาศภยไทย หามนาไปใช้ในการแสวงหากําไรทางการคา ้
ิ
้
ํ
ั
ั
ิ