Page 71 - InsuranceHandbook
P. 71
52 คู่มือประกันวินาศภัยไทย
Thai General Insurance Handbook
2.2 สาระสำคัญที่ถือว่าไม่ปฏิบัติตามหลักความสุจริตอย่างยิ่ง
สาระสำคัญที่ถือว่าไมปฏิบัติตามหลักความสุจริตอย่างยิ่งมี 3 ประการ คือ
่
2.2.1 การไมเปิดเผยข้อความจริง (หรือ “การไมเปิดเผยความจริง”) (Non-Disclosure)
่
่
2.2.2 การแถลงข้อความเท็จ (Misrepresentation)
2.2.3 การไม่ปฏิบัติตามคำรับรอง (Non-Compliance to Warranties)
้
2.2.1 การไม่เปิดเผยขอความจริง (Non-Disclosure)
ั
เป็นหลักการส่วนหนึ่งของหลักความสุจริตอย่างยิ่งในการประกนภัยที่คู่สัญญาจะต้องเปิดเผยความจริงแก่
่
ึ
้
ึ
กัน ซงหมายถงการเปิดเผยขอความจริงที่อยู่ในความรู้เห็นของผู้เอาประกันภัย ทั้งที่เป็นข้อรู้เห็นโดยแท้ (Actual
Knowledge) และข้อที่น่าจะรู้เห็น (Presumed Knowledge) โดยเป็นหน้าที่ของผู้เอาประกันภัยจะต้องเปิดเผย
ข้อความจริงอนเป็นสาระสำคัญ (Material Facts) ต่อผู้รับประกนภัยในการกำหนดเบ้ยประกนภัย หรือใน
ั
ี
ั
ั
้
ั
การตัดสินใจว่าจะรับประกนภัยนั้นหรือไม่เท่าที่วิญญูชนทั่วไปคิดว่าควรต้องเปิดเผย โดยเตมใจ ครบถวน และ
็
ถูกต้อง แม้ว่าจะไม่ได้รับการร้องขอจากผู้รับประกันภัยก็ตาม การที่ผู้เอาประกันภัยไม่เปิดเผยข้อความจริงโดยคิดไป
ว่าเป็นข้อความจริงที่ไม่เป็นสาระสำคัญนั้น ตามหลักข้อนี้ไม่ถือเอาความคิดเห็นของผู้เอาประกันภัยคนหนึ่งคนใดมา
้
เป็นข้อวินิจฉัย แต่จะต้องเอาความคิดเห็นของผู้เอาประกันภัยทั่ว ๆ ไปมาเป็นข้อวินิจฉัยว่าขอความจริงนั้นเป็น
ี
ั
ข้อสาระสำคัญอนควรเปิดเผยหรือไม่ การไม่เปิดเผยข้อความจริง (Non-Disclosure) น้ในบางกรณีเรียกว่าเป็น
การปกปิดข้อความจริง (Concealment) แต่ในการตีความนั้น กรณีจะถือว่าเป็นการปกปิดข้อความจริงก็ต่อเมื่อ
ผู้เอาประกันภัยมีเจตนาจะปกปิดข้อความจริงนั้นไว้ไม่ให้ผู้รับประกันภัยทราบ แต่การไม่เปิดเผยข้อความจริง
้
่
(Non-Disclosure) นั้นแม้ไมจงใจปกปิด แต่การที่ผู้เอาประกันภัยไม่ได้เปิดเผยขอความจริงตามหน้าที่ของตนซึ่ง
่
็
อาจจะเปนการประมาทเลนเล่อบกพรองในหน้าที่ หรือรู้เท่าไม่ถึงการณ์ก็ถือว่าเป็นการไม่เปิดเผยข้อความจริง
ิ
(Non-Disclosure) ซึ่งมีผลทำให้สัญญาประกันภัยเป็นโมฆียะได้เช่นเดียวกับการปกปิดข้อความจริง
(Concealment)
ั
ั
ข้อความจริงอันเป็นสาระสำคัญซึ่งผู้เอาประกนภัยมีหน้าที่จะต้องเปิดเผยให้ผู้รับประกันภัยทราบนั้น มกจะ
เป็นสิ่งซึ่งมีการเสี่ยงภัยมากกว่าปกติ และเกี่ยวเนื่องกับภาวะภัยทางศีลธรรม (Moral Hazard) ซึ่งผู้รับประกันภัยที่
่
ิ
รอบคอบ (Prudent Insurer) จะให้ความสนใจเป็นพเศษในการพิจารณาว่าจะรับประกันภัยนั้นหรือไม และถ้าหาก
้
ั
รับประกนภัยได้ จะรบในอตราเบยประกนภัยปกติ หรือจะตองคิดอตราเบี้ยประกันภัยที่สูงขึ้น หรือจะต้องกำหนด
ั
้
ี
ั
ั
ั
ั
ุ
ิ
ั
ั
เงื่อนไขพเศษในการรบประกนภัยน้น เป็นต้น เช่น การที่ นาย ก. นำรถของตนที่เพงเสียหายจากการเกิดอบัติเหตุ
ิ่
เฉี่ยวชนมาขอเอาประกันภัยรถยนต์ประเภท 1 กับบริษัทประกันภัยแห่งหนึ่ง โดยไม่ได้แจ้งให้บริษัททราบว่ารถของ
ุ
ตนเพิ่งไปเกิดอบัติเหตุมาและมีส่วนใดของรถที่เสียหายบ้าง นอกจากนั้น นาย ก. ยังมีเจตนาที่จะทจริตต่อบริษัทโดย
ุ
ุ
การมาเรียกร้องค่าสินไหมทดแทนความเสียหายจากอบัติเหตุซึ่งเกิดขึ้นกับรถคันนี้ก่อนวันที่บริษัทตกลงรับ
ประกนภัยดวย ในกรณเช่นนี้ ถือว่า นาย ก. ไม่เปิดเผยข้อความจริงอันเป็นสาระสำคัญให้บริษัททราบ ซึ่งถ้าหาก
ั
้
ี
ั
บริษัททราบข้อความจริงนี้ก่อนก็จะปฏิเสธการรับประกนภัยรถยนต์คันนี้อย่างแน่นอน ผู้รับประกันภัยจึงสามารถจะ
ใช้สิทธิ์บอกล้างสัญญาประกันภัยนั้นได้ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 865
ตัวอย่าง เงื่อนไขทั่วไปในกรมธรรม์ประกันอคคีภัย ข้อ 2. การตกเป็นโมฆียะของกรมธรรมประกนภัย “ถ้า
ั
์
ั
ได้มีการบรรยายคลาดเคลื่อนในสาระสำคัญแห่งทรัพย์สินที่เอาประกันภัย หรือในสาระสำคัญแห่งสิ่งปลูกสร้าง หรือ
ั
สถานที่ตั้งของทรัพย์สิน หรือสิ่งปลูกสร้างดังกล่าว หรือในข้อความอนเป็นสาระสำคญอนจำเป็นต้องรู้เพอการ
ั
ื่
ั
่
ประเมินความเสี่ยงภัย หรือเพือการกำหนดอัตราเบี้ยประกันภัย หรือมการละเว้นไม่เปิดเผยข้อความจริงดังกล่าวนั้น
ี
้
ให้ถือว่าสัญญาประกนภัยตามกรมธรมประกนภัยฉบับนตกเป็นโมฆยะ และบริษัททรงไว้ซึ่งสทธิในการบอกล้าง
ั
ี
์
ี
ั
ิ
สัญญาประกันภัยนี้ภายในระยะเวลาที่กฎหมายกำหนด”
์
ิ
ิ
ลขสทธของสมาคมประกนวนาศภยไทย หามนาไปใช้ในการแสวงหากําไรทางการคา ้
ิ
้
ํ
ั
ั
ิ