Page 66 - InsuranceHandbook
P. 66
บทที่ 5 หลักส�าคัญของสัญญาประกันภัย 47
1.2 ส่วนได้เสียกรณีประกันวนาศภัย 1.3.3 ผู้มีความรับผิดตามกฎหมาย หรือตามสัญญา
ิ
่
ถ้าหากในระหว่างสญญาประกันภัยมีผลบังคับ การเสี่ยงภัยได้หมดไปหรือวัตถุที่เอาประกันภัยหมดไปหรือ เป็นความรับผิดซึ่งเกิดขึ้นตามกฎหมายตอชีวิต ร่างกาย หรือทรัพย์สินที่ตนละเมิด เช่น
ั
ื่
ได้มีการโอนวัตถุที่เอาประกันภัยไปให้ผู้อนแล้ว ส่วนได้เสียในเหตุประกันภัยนั้นก็จะหมดไปด้วย ซึ่งจะทำให้ ผู้รับเหมาก่อสร้างไปทำความเสียหายต่อบ้านข้างเคียง หรือเป็นความรับผิดตามสัญญาซึ่งตนมีหน้าที่ต้องรับผิดชอบ
ื่
สัญญาประกันภัยนั้นไม่มีผลผูกพันกับผู้ที่ไม่มีส่วนได้เสียในเหตุประกันภัยนั้นต่อไป ต่อความปลอดภัยของทรัพย์ที่รับมอบให้ดูแลรักษาหรือเข้าครอบครองทรัพย์สินของบุคคลอนโดยชอบด้วยกฎหมาย
ส่วนได้เสียในเหตุที่ประกันภัยนี้จะต้องเป็นส่วนได้เสียที่อาจเอาประกันภัยได้ด้วย ซึ่งตามประมวลกฎหมาย เช่น ผู้รับขนส่งสินค้า ผู้เช่า ผู้รับจ้างทำของ ต้องดูแลทรัพย์นั้นให้ปลอดภัย จึงถือว่าผู้รับผิดชอบดังกล่าวนั้นมีส่วนได ้
ั
ิ
แพ่งและพาณชย มาตรา 869 บัญญัติว่า “อนคำว่า “วินาศภัย” ในหมวดนี้ ท่านหมายรวมเอาความเสยหาย เสียสามารถเอาประกันภัยทรัพย์ได้ เป็นต้น
ี
์
ั
อย่างใด ๆ บรรดาซึ่งจะพึงประมาณเปนเงินได้” และตามพระราชบัญญัติประกนวินาศภัย พ.ศ. 2535 มาตรา 4 ให้ 1.3.4 ผู้มีส่วนได้เสียในฐานะตัวแทนของเจ้าของ
็
ั
ี
ึ
ความหมายของ “วินาศภัย” ว่า “ความเสียหายอยางใด ๆ บรรดาซึ่งจะพงประมาณเป็นเงินได้ และหมายความ ตัวแทนหมายถึงบุคคลที่มีอำนาจกระทำการแทนอกบุคคลหนึ่งตามที่ได้ตกลงไว้ การเป็น “ตวแทน”
่
็
รวมถึงความสูญเสียในสิทธิ์ ผลประโยชน์หรือรายได้ด้วย” เพราะฉะนั้น ส่วนได้เสียที่จะเอาประกันภัยได้ในเรื่องของ จะเป็นโดยการแต่งตั้ง แสดงออกโดยชัด หรือโดยปริยายกได้ เนื่องจากตัวแทนเป็นบุคคลที่ได้รับมอบอำนาจจาก
้
การประกันวินาศภัยจึงมี 2 ลักษณะ คือ เจาของให้กระทำการแทน จึงต้องรับผิดชอบดูแลทรัพย์สินให้ได้รับความปลอดภัย และต้องชดใช้ถ้าหากเกิด
์
์
ั
1. ผู้เอาประกันภัยมีความสัมพนธ์อยู่กับทรัพย์ สิทธิ์ ผลประโยชนหรือรายได้ ซึ่งถ้ามีเหตุการณ์อย่างหนึ่ง ความเสียหายต่อทรัพยนั้น ตัวแทนจึงมีสิทธิ์ที่จะเอาประกันภัยทรัพย์นั้นได้
อย่างใดเกิดขึ้นจะทำให้ผู้นั้นต้องเสียหายหรือต้องรับผิด 1.3.5 ผู้รับประกันภัย
ู
ี
ั
ั
้
ั
2. ความเสียหายที่ผู้นั้นจะได้รับจะต้องประมาณเป็นเงินได้ ผู้รับประกันภัยมีส่วนได้เสียตามความรับผิดที่มต่อผเอาประกนภัยตามสญญาประกนภัย จึงสามารถ
ั
้
็
ั
้
คำว่าส่วนได้เสียที่อาจเอาประกนภัยได หมายถึง ส่วนได้เสียที่สามารถคำนวณหรือประเมนเปนราคา หรือ นำไปประกันภัยต่อโดยการทำสัญญาประกันภัยต่อ (Reinsurance Contract) กับผู้รับประกนภัยต่อได
ิ
ั
้
่
่
ิ
ิ
้
เงินได้ ความเสียหายใดทไมสามารถคำนวณหรือประเมนเป็นเงนไดก็ไมสามารถเอาประกนวินาศภัยได แตอาจจะ
ี
่
่
เป็นเรื่องของการประกันชีวิตได้ 1.4 เวลาที่ต้องมีส่วนได้เสีย
ั
ในการประกันวินาศภัย ผู้เอาประกันภัยต้องมีส่วนได้เสียในขณะเข้าทำสญญาประกันภัยกับผู้รับประกันภัย
ี
่
ี
1.3 ความสัมพันธ์ของผู้เอาประกันภัยกับทรัพย์ สิทธิ์ ผลประโยชน์ หรือรายได้ใด ๆ ที่จะเอาประกันภัย และในขณะทเกิดวินาศภัย ยกเว้นกรณการประกันภัยทางทะเลซึ่งผู้เอาประกันภัยไม่จำเป็นต้องมีส่วนได้เสียใน
ความสัมพันธ์ของผู้เอาประกันภัยกับทรัพย์ สิทธิ์ ผลประโยชน์ หรือรายได้ใด ๆ ที่จะเอาประกันภัยสามารถ ขณะที่ทำสัญญาประกันภัยก็ได้ แต่จะต้องมีส่วนได้เสียในขณะที่เกิดวินาศภัยต่อทรัพย์สินที่เอาประกันภัย
ี
แยกพิจารณาได้ดังต่อไปนี้ ผู้เอาประกันภัยหรือผู้รับประโยชน์จึงจะมสิทธิ์ได้รับเงินชดใช้ค่าสินไหมทดแทนตามสัญญาประกันภัย
ิ
1.3.1 เป็นเจ้าของ ผู้ครอบครอง ผู้รับจำนอง ผู้รับฝากทรัพย์ ผู้เช่า ผู้ดูแล หรือผู้พิทักษ์ทรัพย์ ในการพจารณาเวลาที่จะต้องมีส่วนได้เสียของการประกันวินาศภัยให้ถือเวลาในขณะทำสัญญาประกันภัย
ย่อมมีส่วนได้เสียในทรัพย์สิน การเป็นเจ้าของย่อมมีกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินที่เอาประกันภัย และ ซึ่งหมายความว่าในขณะตกลงทำสัญญาประกันภัย ผู้เอาประกันภัยต้องมีส่วนได้เสียในเหตุที่เอาประกันภัยนั้น
ั
ั
่
เจ้าของยอมได้รับความเสียหายหรือสูญเสียผลประโยชน์ ถ้าทรัพย์สินที่เอาประกันภัยไว้เกิดความเสียหายหรือ สญญาประกันภัยจึงจะผูกพน แต่ถ้าส่วนได้เสียนั้นหมดสิ้นไปหรือไม่มีส่วนได้เสียหลังจากทำสัญญาประกันภัยแล้ว
่
สูญหาย การแสดงความเป็นเจ้าของนั้นไม่จำเป็นต้องเปนเจาของแต่เพยงผู้เดียว อาจเป็นเจ้าของร่วมหรือ แตระยะเวลาการคุ้มครองในสัญญาประกันภัยยังไม่สิ้นสุด ผู้เอาประกันภัยหรือผู้รับประโยชน์ไม่มีสิทธิ์ที่จะไป
็
ี
้
เป็นเจ้าของบางส่วนก็ได้ เรียกร้องค่าสินไหมทดแทนจากผู้รับประกันภัยได้
ิ
์
นอกจากนี้ ผู้เป็นเจ้าหนี้ย่อมมีส่วนได้เสียในทรัพย์สินที่ตนยึดถือไว้เป็นหลักทรัพย์ค้ำประกันในการ สำหรับการประกันภัยรถยนตภาคสมัครใจ การพจารณาว่าผู้เอาประกันภัยมีส่วนได้เสียหรือไม่นั้นจะ
ชำระหนี้ เช่น ผู้รับจำนำ ผู้รับจำนอง เป็นต้น ตัวอย่าง นาย ก. ไปขอกเงินจากธนาคารจำนวน 2 ลานบาท โดย พิจารณาในขณะเวลาเอาประกันภัย และหากในขณะเอาประกันภัยมีส่วนได้เสียแล้ว แม้ต่อมาส่วนได้เสียนั้นจะหมด
้
ู
้
ี
ั
นำเอาบ้านของตนไปจำนองไว้กบธนาคาร ธนาคารในฐานะเจ้าหนี้เกรงว่าจะเกิดไฟไหม้บ้านที่รับจำนองไว้ จึงมสิทธิ์ ไป สัญญาประกันภัยนั้นก็ยังคงมีผลสมบูรณ์จนกว่าสัญญานั้นจะสิ้นสุดความคุ้มครอง แต่การชดใช้กรณีนี้จะต้อง
้
ที่จะกำหนดให้ นาย ก. ตองเอาประกันอัคคีภัยโดยระบุให้ธนาคารเป็นผู้รับประโยชน์ตามภาระผูกพน ถ้าเกิดไฟไหม้ ชดใช้ให้กับผู้เสียหายที่แท้จริง
ั
ี
ั
บ้านหลังดังกลาว ผู้รับประกนภัยจะต้องจ่ายเงินค่าสินไหมทดแทนใหแกธนาคารตามมูลหนี้ที่ นาย ก. ยงคางชำระ ตัวอย่างที่ 1 นาย ก.ซึ่งเป็นเจ้าของบ้านและที่ดินได้เอาประกันอัคคภัยบ้านอยู่อาศัยหลังนี้ไว้กับ
้
้
ั
่
่
ธนาคารอยู่ บริษัทซื่อสัตย์ประกันภัย จำกัด (มหาชน) ตามกรมธรรม์ประกันอัคคีภัยสำหรับที่อยู่อาศัยมาเป็นเวลาหลายปี ต่อมา
ี
ิ
1.3.2 ผู้มีสิทธิ์ตามสัญญา นาย ก. ได้ขายบ้านและที่ดินนี้ โดยมการจดทะเบียนโอนกรรมสทธิ์ให้แก่ นาย ข. ซึ่งเป็นผู้ซื้อ ณ สำนักงานที่ดิน
่
้
ี
ั
ี
ั
สัญญาในที่นี้หมายถึงข้อผูกพนที่ได้ทำการตกลงกันเฉพาะกรณีและมีผลบังคับกับคู่สัญญา เป็นสิทธิ์ที่ เสร็จเรียบร้อย ตามหลักส่วนได้เสียในเหตุที่เอาประกันภัยถือว่า สิทธิส่วนไดเสยของ นาย ก. ในบ้านทเอาประกน
่
้
ี
ี
่
เรียกร้องให้คู่สัญญาฝ่ายหนึ่งต้องกระทำหรอจายเงินชดใช้ความเสยหายถ้ามีเหตุให้ทรัพย์นั้นต้องเสียหายหรือ อัคคภัยหลังนี้หมดไปตั้งแต่วัน เวลาที่ นาย ก. ไดมีการจดทะเบียนโอนกรรมสิทธิ์ให้แกนาย ข. ไปแล้ว ส่วน นาย ข.
ื
่
สูญหายเกิดขึ้น ซงมักเกิดในกรณีของการประกนวินาศภัย เช่น เจาของอาคารในฐานะผู้ให้เช่าทำสัญญากับผู้เช่า จะมีสิทธิส่วนได้เสียในบ้านและที่ดินที่ซื้อมาจาก นาย ก. ตั้งแต่วัน เวลา ที่ นาย ข. ได้มีการจดทะเบียนรับโอน
้
ึ
ั
้
อาคาร โดยกำหนดให้ผู้เช่าอาคารรับผิดชอบค่าเสียหายถ้าหากเกิดไฟไหมอาคารนั้น ผู้เช่าอาคารย่อมมีส่วนได้เสียใน กรรมสิทธิ์มาจาก นาย ก.
์
ั
ี
การทำประกันอัคคีภัยอาคารที่เช่านั้น กรมธรรมประกันอัคคภัยสำหรับที่อยู่อาศัยได้ระบุไว้ในหมวด 6. เงื่อนไขทั่วไป ข้อ 6.13 การระงบไปแห่ง
ั
ั
ั
์
สญญาประกนภัยว่า ความคุ้มครองกรมธรรมประกนภัยฉบับน เป็นอนระงับสิ้นไปทันทีเมื่อ “6.13.2 กรรมสิทธิ์ใน
้
ั
ี
ิ
ทรัพย์สินที่เอาประกันภัยไว้ ได้ถูกเปลี่ยนมือจากผเอาประกนภัยโดยวิธีอ่น นอกจากทางพนยกรรมหรือโดยบัญญัติ
ั
ื
ั
ู
้
ั
แห่งกฎหมาย อย่างไรก็ตาม เงื่อนไขข้อนี้จะไม่นำมาบังคับใช้ หากลักษณะการใช้สิ่งปลูกสร้าง อนเป็นทรัพย์สินที่
์
ิ
ิ
ลขสทธของสมาคมประกนวนาศภยไทย หามนาไปใช้ในการแสวงหากําไรทางการคา ้
ิ
้
ํ
ั
ั
ิ