Page 61 - InsuranceHandbook
P. 61
42 คู่มือประกันวินาศภัยไทย
Thai General Insurance Handbook
9. ชื่อของผู้รับประโยชน์ ถ้าจะพึงมี
10. วันทำสัญญาประกันภัย
11. สถานที่ และวันที่ได้ทำกรมธรรม์ประกันภัย
แบบ และเนื้อหาของกรมธรรม์ประกันภัยทุกฉบับที่จำหน่ายในประเทศไทย จะตองได้รับการพิจารณา และ
้
่
ิ
ิ
อนุมัติจากเลขาธิการสำนกงานคณะกรรมการกำกับและสงเสรมการประกอบธุรกจประกนภัย (คปภ.) ในฐานะ
ั
ั
นายทะเบียนประกันภัย
2. ลักษณะพิเศษทางกฎหมายของสัญญาประกันภัย (Special Legal Characteristics of
Insurance Contracts)
แม้ว่าสัญญาประกันภัยจะมีลักษณะโดยทั่ว ๆ ไปคล้ายสัญญาชนิดอื่นก็ตาม แต่เนื่องจากสัญญาประกันภัย
เป็นสัญญาในทางการคา (Commercial Contract) จึงมีลักษณะพเศษเฉพาะตัวอยู่หลายประการ คือ
ิ
้
ี
2.1 เป็นสัญญาที่ไมมแบบ สัญญาประกันภัยเป็นสัญญาที่เกิดขึ้นมีผลสมบูรณ์ตามกฎหมาย โดยอาศัย
่
คำเสนอ และคำสนองต้องตรงกันเท่านั้น ไม่จำเป็นต้องอาศัยหลักฐาน หรือเอกสารอนใดอก จึงอาจกล่าวได้ว่า
ื
ี
่
เป็นสัญญาปากเปล่าที่สำเร็จลงได้โดยการตกลงกันด้วยวาจาเท่านั้น การที่ผู้รับประกันภัยต้องออก
์
ี
ื่
กรมธรรมประกันภัยให้ผู้เอาประกันภัยนั้นเป็นเพยงการออกหลักฐานเป็นหนังสือเพอแสดงว่าได้มีการทำ
สัญญาประกันภัย ซึ่งมีข้อความเช่นเดียวกับที่ได้ระบุไว้ในกรมธรรม์ประกันภัยนั่นเอง ดังนั้น กรมธรรม์ประกันภัยจึง
ไม่ใช่สัญญาประกันภัย แต่สัญญาประกันภัยเป็นที่มาของกรมธรรม์ประกันภัย
2.2 เป็นสัญญาที่ต้องมหลักฐานเป็นหนังสือ จึงจะฟ้องร้องบังคับคดีกันได้ สำหรับสญญาประกนภัยที่
ี
ั
ั
็
เกิดขึ้นสมบูรณ์ตามกฎหมายด้วยวาจานั้น แม้จะเป็นสัญญาประกันภัยที่สมบูรณ์กันตามกฎหมายกตาม แต่เมื่อ
จะต้องฟองร้องบังคับคดีกันแล้ว กฎหมายบังคับว่าต้องมีหลักฐานเป็นหนังสือลงลายมือชื่อฝ่ายที่ต้องรับผิด หรือ
้
้
ลายมือชื่อของตัวแทนฝ่ายนั้นเป็นสำคัญ มิฉะนั้นจะไม่สามารถฟองร้องบังคับคดีได้ คำว่าหลักฐานเป็นหนังสือนั้น
้
่
หมายถงการจัดทำขอความ ใด ๆ ลงในเอกสารเพือให้เกิดความหมายว่าได้มีการทำสัญญาประกันภัยขึ้นไว้
ึ
หากผู้เอาประกันภัยเป็นฝ่ายที่ทำขึ้นไว้ ผู้รับประกันภัยก็สามารถใช้หลักฐานเป็นหนังสือนั้นฟองร้องบังคับคดี เช่น
้
ั
เรียกร้องเบี้ยประกันภัยได้ แต่ถ้าหากฝ่ายผู้รับประกันภัยทำขึ้นไว้เป็นกรมธรรม์ประกนภัย ผู้เอาประกันภัยก็สามารถ
ใช้หลักฐานเป็นหนังสือนั้นฟ้องร้องเรียกค่าสินไหมทดแทนตามสัญญาประกันภัยได้
2.3 เป็นสัญญาต่างตอบแทน ในสัญญาประกันภัยนั้นคู่สัญญาทั้งสองฝ่ายต่างเป็นเจ้าหนี้ และลูกหนี้ตอบ
ิ
แทนกัน ผู้เอาประกันภัยเป็นลูกหนี้ในค่าเบี้ยประกันภัยค้างชำระ แต่เป็นเจ้าหน้ในคาสนไหมทดแทนหากเกิด
ี
่
วินาศภัยตามสัญญาขึ้น ส่วนผู้รับประกันภัยเป็นเจ้าหนี้ในค่าเบี้ยประกันภัยค้างรับ แต่เป็นลูกหนี้ใน
ค่าสินไหมทดแทนตามสัญญาประกันภัยนั้นหากมีวินาศภัยเกิดขึ้นตามสัญญา ฉะนั้น การที่ผู้เอาประกันภัย และ
ผู้รับประกันภัยต่างฝ่ายต่างมหนี้ต่อกันเช่นนี้จึงเรียกว่าสัญญาประกันภัยเป็นสัญญาต่างตอบแทน ซึ่งคู่สญญาฝาย
ี
่
ั
หนึ่งมีสิทธิไม่ยอมชำระหนี้จนกว่าอกฝ่ายหนึ่งจะชำระหนี้ของตน หรือขอปฏิบัติการชำระหนี้ก็ได้ (ประมวลกฎหมาย
ี
แพ่งและพาณิชย์ มาตรา 369) เช่น ผู้รับประกันภัยอาจจะยังไม่จ่ายค่าสินไหมทดแทนตามสัญญาประกันภัย จนกว่า
ผู้เอาประกันภัยจะชำระค่าเบี้ยประกันภัยที่ค้างชำระนั้นให้แก่ผู้รับประกันภัยได้
2.4 เป็นสัญญาที่มค่าตอบแทนไม่เท่าเทียมกัน โดยปกติแล้วสัญญาต่างตอบแทนส่วนใหญ่จะเป็นสัญญาที่
ี
มีค่าตอบแทนด้วย หรือในทางกลับกัน สัญญาที่มีค่าตอบแทนมักจะเป็นสัญญาต่างตอบแทนเสยเป็นส่วนใหญ่ แต่ก็
ี
ไม่เป็นเช่นนั้นทุกกรณี สัญญาที่มีค่าตอบแทนนั้นหมายถึงสัญญาที่คู่สัญญาทั้งสองฝ่ายต่างได้รับประโยชน์ในทาง
์
ั
่
ี
ทรพย์สนเป็นการแลกเปลยนตอบแทนกน เช่น นาย ก. ขายรถยนตให้ นาย ข. นาย ก. ย่อมได้เงินค่าราคารถยนต์
ั
ิ
์
์
เป็นประโยชนแก่ตน ส่วน นาย ข. ก็ได้รถยนตคันน้นไปใช้เป็นประโยชน์ในทางทรพยสิน ฉะนั้น สัญญาซื้อขายจึง
์
ั
ั
ิ
์
ิ
ลขสทธของสมาคมประกนวนาศภยไทย หามนาไปใช้ในการแสวงหากําไรทางการคา ้
ิ
้
ํ
ั
ั
ิ