Page 63 - InsuranceHandbook
P. 63
44 คู่มือประกันวินาศภัยไทย
Thai General Insurance Handbook
่
้
เอาประกันภัยโดยที่ผู้รับประกันภัยไม่ทราบถึงอุบัติเหตุที่เกิดขึ้นนั้นมาก่อน รวมทั้งไมไดทำการตรวจสภาพรถขณะที่
ั
เจ้าของรถมาติดต่อขอเอาประกนภัย แต่ผู้รับประกันภัยมาทราบเหตุฉ้อฉลนี้ภายหลัง ผู้รับประกันภัยก็มีสิทธิ์ที่จะ
ปฏิเสธการชดใช้ค่าสินไหมทดแทนนั้นได้เนื่องจากเป็นอุบัติเหตุที่ได้เกิดขึ้นก่อนที่บริษัทจะตกลงรับประกันภัย
2.8 เป็นสัญญาเพื่อประโยชน์ของบคคลภายนอก สัญญาประกันภัยที่ผู้เอาประกันภัยได้ยกประโยชน์
ุ
แห่งสัญญานั้นให้บุคคลภายนอกเป็นผู้รับประโยชน์ ผู้เอาประกันภัยจะไม่มีสิทธิ์ได้รับค่าสินไหมทดแทนหากเกิด
วินาศภัยดังที่กำหนดไว้ในสัญญาประกันภัยนั้น การยกประโยชน์ดังกล่าวจะกระทำให้แก่บุคคลใดกได้โดย
็
ผู้รับประโยชน์ไม่จำเป็นจะต้องมีส่วนได้เสียกับทรัพย์สินที่เอาประกันภัยนั้นแต่อย่างใด เพียงขอให้ผู้รับประโยชน์เป็น
ั
ั
้
ั
ั
บุคคล หรือนิติบุคคลที่มีตัวตนตามกฎหมาย และสามารถแสดงเจตนาเข้ารบประโยชน์ตามสญญาประกนภัยนนได ้
ู
ก็ถือว่าเป็นผู้รับประโยชน์ตามสัญญาประกันภัยนั้นโดยถกต้องแล้ว สัญญาประกันภัยชนิดนี้เรียกว่าสัญญาเพอ
ื่
่
์
ประโยชนของบุคคลภายนอกซึ่งต้องบังคับตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย์มาตรา 374 – 376 เมื่อ
์
ผู้รับประโยชน์ได้แสดงเจตนาเข้ารับประโยชน์ตามสัญญาประกันภัยแล้ว ผู้รับประโยชนสามารถเรยกให้
ี
ั
้
์
ผู้รับประกันภัยชำระค่าสินไหมทดแทนตามสัญญาประกันภัยนั้นได้ทันที การแสดงเจตนาเขารบประโยชนตาม
สัญญาประกันภัยนั้นสามารถจะทำเป็นหนังสือ หรือด้วยวาจาก็ได้ แต่ส่วนมากมักจะทำเป็นหนังสือเพอจะได้มีเป็น
ื่
หลักฐานที่ชัดเจน โดยผู้รับประโยชน์อาจจะแสดงเจตนาก่อนที่จะเกิดวินาศภัย หรือภายหลังจากที่เกิดวินาศภัยก็ได้
ี่
เช่น กรณีท นาย ก. ได้เอาประกันอัคคีภัยบ้านของเขาซึ่งจำนองไว้กับธนาคารอาคารสงเคราะห์ และได้ยกประโยชน์
ตามสัญญาประกันภัยให้แก่ธนาคารอาคารสงเคราะห์เป็นผู้รับประโยชน์ตามภาระผูกพัน ธนาคารอาคารสงเคราะห์ก ็
จะทำหนังสือถึงผรับประกนภัยเพอแสดงเจตนาเขารับประโยชน์ตามสัญญาประกันภัยนี้ในกรณีที่เกิดวินาศภัยขึ้น
่
ั
ื
ู
้
้
เมื่อผู้รับประโยชน์ได้แสดงเจตนาต่อผู้รับประกันภัยแล้ว คู่สัญญาประกันภัยจะเปลี่ยนแปลงผู้รับประโยชน์เป็นบุคคล
อนไม่ได้ อย่างไรกตาม ในกรณที่ นาย ก. ได้ชำระหนี้เงินกู้ทั้งหมดคืนธนาคารอาคารสงเคราะห์จนครบถวน และม ี
ี
ื่
้
็
การจดทะเบียนโอนกรรมสิทธิ์ในบ้านหลังนั้นกลับคืนมาให้ นาย ก. แล้ว ธนาคารอาคารสงเคราะห์ก็จะไม่มีสิทธิรับ
ประโยชน์ใด ๆ ตามสัญญาประกันภัยนั้นอีก
่
ในกรณของการประกันภัยค้ำจุน ได้มีการบัญญัติไว้ในประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย์ มาตรา 887 วรรค
ี
แรกว่า “อันว่าประกันภัยค้ำจุนนั้น คือสัญญาประกันภัยซึ่งผู้รับประกันภัยตกลงว่าจะใช้ค่าสินไหมทดแทนในนาม
ี
ื่
ของผู้เอาประกันภัย เพอความวินาศภัยอนเกิดขึ้นแก่บุคคลอกคนหนึ่ง และซึ่งผู้เอาประกันภัยจะต้องรับผิดชอบ”
ั
ี
ั
เช่น การประกนภัยความรบผิดตามกฎหมายตอบคคลภายนอก หากผู้เอาประกนภัยไดทำความเสยหายต่อชีวิต
ุ
่
้
ั
ั
้
ิ
้
ร่างกาย หรือทรัพย์สินของบุคคลภายนอก และมีความรับผิดตามกฎหมายจะตองชดใช้ค่าสนไหมทดแทนใหแก ่
ั
บุคคลภายนอกแล้ว บุคคลภายนอกผู้ได้รับความเสียหายจะเป็นผู้เข้ามารับค่าสินไหมทดแทนตามสญญาประกนภัย
ั
้
ั
โดยผลของกฎหมายจากผรับประกนภัยโดยตรง ผู้รับประกันภัยก็จะชดใช้ค่าสินไหมทดแทนให้แก่บุคคลภายนอก
ู
ั
ผู้ได้รับความเสียหายเท่านั้น จะชำระค่าสินไหมทดแทนตามสัญญาประกันภัยค้ำจุนให้แกผู้เอาประกันภัยเช่นสญญา
่
ื่
ประกันภัยชนิดอนไม่ได้ เว้นแต่ผู้รับประกันภัยจะพสูจน์ได้ว่าเงินค่าสินไหมทดแทนที่ได้ชำระใหผู้เอาประกันภัยไป
ิ
้
ึ
ั
้
ุ
นั้น ผู้เอาประกันภัยได้ชำระให้บุคคลภายนอกผู้ได้รับความเสียหายแล้ว ผู้รับประกนภัยจงจะหลดพนจากความรับ
ผิดในการชดใช้ค่าสินไหมทดแทนตามสัญญาประกันภัยค้ำจุน
์
ิ
ิ
ลขสทธของสมาคมประกนวนาศภยไทย หามนาไปใช้ในการแสวงหากําไรทางการคา ้
ิ
้
ํ
ั
ั
ิ