Page 60 - InsuranceHandbook
P. 60
บทที่ 4 สัญญาประกันภัย 41
1.2 สิ่งตอบแทน (Consideration)
สิ่งตอบแทนเป็นสิ่งมีค่าทคู่สัญญาแต่ละฝ่ายในสัญญาประกันภัยให้ต่อกัน
ี่
1.2.1 สิ่งตอบแทนของผู้เอาประกันภัย คือ การชำระเบี้ยประกันภัย หรือคำสัญญาว่าจะชำระ
ั
เบี้ยประกนภัยใหแกผรับประกนภัยภายในกำหนด รวมทั้งการตกลงที่จะปฏิบัติตามเงื่อนไขที่ระบุไว้ในกรมธรรม ์
้
ู
ั
้
่
ประกันภัย เช่น การรายงานความเสียหายที่เกิดขึ้นต่อผู้รับประกันภัยโดยเร็วที่สุดเท่าที่จะทำได้ เป็นต้น
1.2.2 สิ่งตอบแทนของผู้รับประกันภัย คือ คำสัญญาที่จะปฏิบัติตามเงื่อนไขต่าง ๆ ที่ระบุไว้ใน
่
์
ี
ั
กรมธรรมประกนภัย เช่น การชดใช้ความเสียหายที่เกิดขึ้นโดยไมชักช้า การต่อสู้ในคดแพ่งในนามของ
ผู้เอาประกันภัย เป็นต้น
1.3 คู่สัญญามีความสามารถตามกฎหมาย (Competent Parties)
ในการทำสัญญาประกันภัยนั้น ผู้ขอเอาประกันภัย และผู้รับประกันภัยซึ่งเป็นคู่สัญญาจะต้องมี
รูปภาพที่ 4–1 ผังแสดงการเกิดของสัญญาประกันภัย ความสามารถตามกฎหมายในการที่จะเข้าผูกพันตามสญญา กฎหมายเกี่ยวกบความสามารถตามกฎหมายนี้จะ
ั
ั
่
เกี่ยวกับผู้เยาว์ และผู้ที่ไร้ความสามารถ ซงสามารถจะแยกออกเป็น
ึ
สำหรับการปฏิบัติในประเทศไทยนั้น คำขอเอาประกันภัยอาจจะเป็น 1.3.1 ตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย์ มาตรา 19 ผู้เยาว์จะเป็นบุคคลที่มีอายุน้อยกว่า 20 ปี
่
1. วาจา (Oral) เช่น กรณีที่ผู้ขอเอาประกันภัยโทรศัพท์ติดต่อไปยังบริษัทประกันภัยที่เขารู้จักเพือ โดยปกติแล้วผู้เยาว์เหล่านี้ไม่สามารถที่จะเข้าผูกพันตามสัญญาประกันภัยได้
่
ั
ขอเอาประกันภัยบางอย่าง เช่น ประกันภัยอุบัติเหตุการเดินทาง ถ้าหากผู้รับประกันภัยตอบตกลงรับประกนภัยแล้ว อย่างไรกตาม กฎหมายก็มีข้อยกเว้นไว้บางประการ เช่น ตามประมวลกฎหมายแพงและพาณชย์
่
ิ
็
สัญญาประกนภัยกจะเกิดขึ้นทันทีถึงแม้ว่าผู้รับประกันภัยยังไม่ได้ออกกรมธรรม์ประกันภัยให้แก่ผู้เอาประกันภัย มาตรา 20 ผู้เยาว์ที่ได้สมรสเมื่ออายุ 17 ปี จะพนจากสภาพการเป็นผู้เยาว์ และมีความสามารถท่จะเข้าผูกพนตาม
็
ั
้
ั
ี
ก็ตาม คำเสนอด้วยวาจานี้มีใช้ในการประกันวินาศภัยบางประเภท สัญญาประกันภัย หรือว่าเป็นการกระทำเพอจะได้ไปซึ่งสิทธิอนใดอนหนึ่ง เป็นการที่ต้องทำเองเฉพาะตัว หรือเป็น
ั
ั
ื่
ั
2. ทำเป็นหนังสือ (In Writing) คำขอเอาประกนภัยที่ทำเป็นหนังสือ หรือลายลักษณ์อักษรนี้เป็นที่นิยม การสมแก่ฐานานุรูปแห่งตน และเป็นการอันจำเป็นเพื่อเลี้ยงชีพตามสมควร
ใช้โดยทั่วไปทั้งการประกันชีวิต และการประกนวินาศภัย เช่น เมื่อ นาย ข. ตองการจะขอเอาประกนภัยอบัตเหต ุ 1.3.2 สำหรับบุคคลที่ไร้ความสามารถ เช่น คนวิกลจริต ถึงขนาดที่ไม่มีทางดูแลตัวเอง หรือผลประโยชน์
ั
้
ั
ุ
ิ
ี
ส่วนบุคคลตัวของเขา ตัวแทนประกันภัยก็จะขอให้ นาย ข. กรอกรายละเอยดในใบคำขอเอาประกนภัย ซึ่งในทาง ของตัวเองได้เลย ซึ่งศาลสั่งให้เป็นคนไรความสามารถตามคำรองขอของคู่สมรส บุพการี ผู้สืบสนดาน ผู้ปกครอง
ั
้
ั
้
ปฏิบัติ ตัวแทนประกันภัยมักจะเป็นผู้ซักถาม และกรอกรายละเอียดต่าง ๆ ให้ เสร็จแล้วจะให้ นาย ข. ซึ่งเป็น ผู้พทักษ์ ผู้ดูแลรักษาทั่วไป หรือพนักงานอยการ ถือเป็นผู้ไม่มีความสามารถตามกฎหมายที่จะเข้าผูกพนตาม
ั
ั
ิ
ผู้ขอเอาประกันภัยตรวจสอบและลงนามในฐานะผู้ขอเอาประกันภัย สัญญาประกันภัย
ุ
ถ้าหากผลการพิจารณาของผู้รับประกันภัยพบว่า ผู้ขอเอาประกันภัยรายนั้นมีคณสมบัติตามมาตรฐาน หรือ 1.4 วัตถุประสงค์ถูกกฎหมาย (Legal Purpose)
ั
เกณฑ์ที่ตั้งไว้ก็จะตกลงรับประกนภัย ซึ่งทำให้สัญญาประกนภัยนั้นเริ่มมีผลบังคับตั้งแต่วัน และเวลาที่บริษัทกำหนด สัญญาประกันภัยซึ่งกระตุ้น หรือส่งเสริมการกระทำบางอย่างที่ผิดกฎหมาย หรือศีลธรรมไมสามารถจะ
ั
่
ั
้
ิ
่
้
ไว้ แต่ถาหากผลการพจารณาของผู้รับประกันภัยพบว่าไมสามารถรับประกันภัยรายนนตามมาตรฐาน หรือเกณฑ์ที่ บังคับไดตามกฎหมาย เช่น ผู้รับประกันภัยไม่สามารถจะคุ้มครองความเสียหายทางการเงินของบุคคลที่ค้ายาเสพติด
้
กำหนดไว้ กอาจจะเพมเบี้ยประกันภัย หรือปฏิเสธการรับประกันภัยรายนั้น หรือกำหนดเงื่อนไขสภาพที่เป็นมาก่อน เมื่อยาเสพติดเหล่านั้นถูกเจ้าหน้าที่ตำรวจยึด และทำลาย ตลอดจนทรัพย์สินอื่นที่ถูกยึดเป็นของแผ่นดิน เป็นต้น
ิ่
็
การเอาประกันภัย (Pre-Existing Condition) เช่น ไม่คุ้มครองโรค (รวมทั้งโรคแทรกซ้อน) อาการ หรือ 1.5 แบบฟอร์มถูกกฎหมาย (Legal Form)
ความผิดปกติที่เกิดขึ้นกับผู้เอาประกันภัยก่อนการเอาประกันภัยสุขภาพ เป็นต้น โดยทั่วไปแล้ว ไม่มีข้อกำหนดว่าสญญาประกันภัยจะตองกระทำเป็นลายลักษณ์อกษร อย่างไรก็ตามได้มี
ั
้
ั
ี่
ภายหลังจากทผู้รับประกันภัยได้ตอบรับคำขอเอาประกันภัยแล้ว ก็อาจจะใช้เวลาอีกสักระยะหนึ่งก่อนที่จะ การบัญญัติไว้ในประมวลกฎหมายแพงและพาณชย มาตรา 867 ว่าการที่จะฟองร้องให้บังคับคดีได้นั้น
ิ
์
้
่
ออกกรมธรรม์ประกันภัยให้แก่ผู้ขอเอาประกันภัยได้ ในช่วงเวลานี้ถ้าหากผู้เอาประกันภัยไม่แน่ใจว่าผู้รับประกันภัย สัญญาประกันภัยนั้นจะต้องมีหลักฐานเป็นหนังสือลงลายมือชื่อฝ่ายที่รับผิดเพื่อการฟ้องร้องบังคับคดี โดยที่กฎหมาย
ั
จะคุ้มครองตามสัญญาประกันภัยน้นหรือไม่ ผู้เอาประกันภัยอาจจะขอให้ผู้รับประกันภัยออกหนังสือคุ้มครอง บังคับให้ผู้รับประกันภัยต้องส่งมอบกรมธรรม์ประกันภัยที่มีเนื้อความถูกต้องตามสัญญาให้แก่ผู้เอาประกันภัย และมี
ชั่วคราว (Cover Note) ให้ ซึ่งจะเป็นหลักฐานที่แสดงว่ามีการคุ้มครองชั่วระยะเวลาหนึ่ง เช่น 30 วันก่อนที่ รายการดังต่อไปนี้
ผู้รับประกันภัยจะออกกรมธรรม์ประกันภัยให้แก่ผู้เอาประกันภัย โดยปกติแล้วเงื่อนไขในหนังสือคุ้มครองชั่วคราว 1. วัตถุที่เอาประกันภัย
จะยึดถือตามเงื่อนไขการคุ้มครองที่ผู้รับประกันภัยใช้อยู่ตามปกติ 2. ภัยใดซึ่งผู้รับประกันภัยรับเสี่ยง
3. ราคาแห่งมูลประกันภัยถ้าหากได้กำหนดกันไว้
4. จำนวนเงินซึ่งเอาประกนภัย
ั
5. จำนวนเบี้ยประกันภัย และวิธีส่งเบี้ยประกันภัย
6. ถ้าหากสัญญาประกันภัยมีกำหนดเวลา ต้องลงเวลาเริ่มต้น และเวลาสิ้นสุดไว้ด้วย
7. ชื่อ หรือยี่ห้อของผู้รับประกันภัย
8. ชื่อ หรือยี่ห้อของผู้เอาประกันภัย
ิ
ิ
ลขสทธของสมาคมประกนวนาศภยไทย หามนาไปใช้ในการแสวงหากําไรทางการคา ้
ั
้
ํ
ิ
ิ
์
ั