Page 56 - InsuranceHandbook
P. 56

บทที่ 3 การประกันภัย  37





 ั
    เบี้ยประกันภัยที่ผู้รับประกนภัยเก็บจากผู้เอาประกันภัย โดยปกติจะคำนวณจากองค์ประกอบต่อไปนี้   ดังนั้น เบี้ยประกันภัยสำหรับบ้านแต่ละหลัง คิดเป็นเงิน 529.41 บาทต่อปี ต่อจำนวนเงินเอาประกันภัย
 1. ความเสียหายแท้จริงที่คาดคะเนตามสถิติ ซงคำนวณจากค่าความเป็นไปได้ในการเกิดวินาศภัยกับจำนวน  100,000 บาท
 ่
 ึ
 ความเสียหายโดยเฉลี่ยแต่ละครั้ง
 ่
 ิ
 ่
 2. คาใช้จายในการบรหารงานของผู้รับประกันภัย เช่น ค่าบำเหน็จ ค่าใช้จ่ายในการรับประกันภัย  14. ประเภทของการประกันภัยในประเทศไทย
 ค่าใช้จ่ายในการดำเนินงาน ค่าใช้จ่ายในการเอาประกันภัยต่อ เป็นต้น   การประกันภัยตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ 3 เอกเทศสัญญา ลักษณะ 20 ได้แบ่ง
 3. เงินสำรองสำหรับความเสียหายที่คาดไม่ถึง รวมถึงกำไรที่คาดว่าจะไดจากการรับประกันภัย  ประเภทของการประกันภัยไว้ 2 ประเภท คือ
 ้
                      14.1 การประกันชีวิต
 ผู้รับประกันภัยมีสูตรที่ใช้ในการคำนวณเบี้ยประกันภัย ซึ่งสามารถจะอธิบายได้ง่าย ๆ ดังนี้   14.2 การประกันวินาศภัย


  P  =   (F x S) + E + C    14.1 การประกันชวิต (Life Insurance เป็นศัพท์ที่ใช้ในประเทศสหรัฐอเมรกา และประเทศส่วนใหญ่ทั่ว
                                      ี
                                                                                     ิ
 โดยที่       โลกที่มีพื้นฐานการประกันชีวิตจากประเทศสหรัฐอเมริกา หรือ Life Assurance เป็นศัพท์ที่ในอดีตเริ่มใช้ในประเทศ
 P (Premium)    คือ    เบี้ยประกันภัย   องกฤษและปจจุบันยังมีใช้อยู่ในบางประเทศที่มีพนฐานการประกนชีวิตจากประเทศอังกฤษ ) หมายถึง
                           ั
                                                            ื้
                ั
                                                                           ั
 F (Frequency)   คือ    ความถี่ หรือ ความเป็นไปได้ของการเกิดวินาศภัย   การประกนภัยที่การจ่ายเงินอาศัยการทรงชีพ หรือการมรณะของบุคคลเป็นเหตุในการจ่าย ดังนั้นการประกนชีวิตจึง
                                                                                                      ั
                      ั
 S (Severity)     คือ   จำนวนความเสียหายโดยเฉลี่ย เมื่อเกิดวินาศภัยแต่ละครั้ง   เป็นการประกันภัยที่มุ่งให้การคุ้มครองต่อการเสียชีวิต หรือการยังมีชีวิตอยู่ของบุคคล หรือการอาศัยการทรงชีพของ
 E (Expense)   คือ    ค่าใช้จ่ายในการดำเนินงานของผู้รับประกันภัยซึ่งรวมถึง   ผู้เอาประกันภัยเป็นสำคญในการกำหนดสิทธิที่จะได้รับการค้มครอง ปกติสัญญาประกันชีวิตจะมีระยะเวลา
                                    ั
                                                                    ุ
 เงินที่จ่ายเป็นค่าบำเหน็จแก่ตัวแทน และนายหน้า    ประกันภัยที่ยาวนาน เช่น 10 ปี 15 ปี 20 ปี ครบอายุ 60 ปี หรือตลอดชีพของผู้เอาประกันภัย เป็นต้น
 ั
 C (Contingency Reserve)  คือ    เงินสำรองเพอเหตการณ์ที่ไม่คาดคิด ซึ่งเป็นส่วนที่ผู้รับประกนภัย   สำหรบคำว่า Life Insurance จะหมายถงการประกนชีวิตที่มีกำหนดระยะเวลาที่แน่นอน (Specified
 ุ
 ่
 ื
                                                         ึ
                          ั
                                                                  ั
 ื่
 ได้บวกเผื่อไว้เพอป้องกันความผดพลาดของสถิติรวมทั้งสำรอง  Term) เช่น 10 ปี 15 ปี 20 ปี หรือครบอายุ 60 ปี ซึ่งมีความไม่แน่นอนในเหตุการณ์ที่ผู้เอาประกันภัยอาจจะมีชีวิต
 ิ
 ฉุกเฉินในกรณีที่เกิดมหันตภัยเป็นครั้งคราวจนทำให้ความ  อยจนครบกำหนดสญญา หรืออาจจะเสียชีวิตก่อนครบกำหนดสญญา ในขณะที่คำว่า Life Assurance จะหมายถง
                               ั
                                                                   ั
                 ่
                 ู
                                                                                                            ึ
 เสียหายแท้จริง ที่คาดคะเนตามหลักสถิติพลาดไปอย่างมาก   การประกนชีวิตที่คุ้มครองตลอดชีวิต (Whole of Life) ของผู้เอาประกันภัย ซึ่งมีความแน่นอนในเหตุการณ์ที่
                       ั
 (โดยปกติแล้วถ้าปีใดไม่เกิดมหันตภัยขึ้น ผู้รับประกันภัยที่  ผู้เอาประกันภัยทุกคนจะต้องเสียชีวิต
 ิ
 ดำเนินธุรกจอยางถกต้องตามหลักวิชาการก็จะนำเงินจำนวนนี้
 ู
 ่
 ิ
 ไปเป็นเงินกองทนประกนภัยสำรองฉกเฉน) รวมถงกำไรจาก  14.2 การประกนวนาศภัย (Non-Life Insurance เป็นศัพท์ที่ใช้ในทวีปเอเชียเป็นส่วนใหญ่ หรอ
 ึ
 ุ
 ั
 ุ
                                                                                                            ื
                                    ั
                                       ิ
 การรับประกันภัยที่คาดว่าจะได้รับ    General Insurance เป็นศัพท์ที่ใช้ในประเทศองกฤษ หรือ Property/Casualty Insurance เป็นศัพท์ที่ใช้ใน
                                                        ั
                                                                                                    ั
              ประเทศสหรัฐอเมริกา และประเทศญี่ปุ่น) คือ การประกันภัยทุกประเภทที่นอกเหนือจากการประกนชีวิต โดย
 จากตัวอย่างของการรับประกันอัคคภัยบ้านอย่อาศัยจำนวน 10,000 หลงขางต้น โดยกำหนดให้มีค่าใช้จ่ายใน  ผู้รับประกนภัยตกลงจะชดใช้ค่าสนไหมทดแทนให้ผู้เอาประกันภัยหากทรัพย์สินที่เอาประกันภัยไว้เกิดความสูญเสีย
 ั
 ้
 ู
 ี
                                          ิ
                       ั
 ื่
 ี
 ั
 การดำเนินงานของผู้รับประกนภัยเท่ากับ 27% ของเบี้ยประกันภัยทั้งหมดและมเงินสำรองเพอเหตุการณ์ที่ไม่  หรือเสยหายจากภัยต่าง ๆ ซึ่งความเสยหายนั้นสามารถประเมินค่าเป็นตัวเงินได้ ปกติสัญญาประกันวินาศภัยจะม ี
                    ี
                                              ี
 ้
 คาดคิดเท่ากับ 5% ของเบี้ยประกันภัยทั้งหมด เบี้ยประกันภัยสำหรับบ้านแต่ละหลังสามารถคำนวณได ดังนี้    ระยะเวลาประกันภัย 1 ปี แต่ก็อาจจะมีประกันภัยบางประเภทที่มีระยะเวลาประกันภัยเกิน 1 ปี เช่น 2 ปี 3 ปี หรือ
 F      =   60 (ครั้ง) หารด้วย 10,000 (หลัง) เท่ากับ 0.006   ตามระยะเวลาของสัญญาที่เกี่ยวข้อง เป็นต้น
 S      =   60,000 บาท    ทั้ง “บริษัทประกนวินาศภัย” (ซึ่งนิยมเรียกกันว่า “บริษัทประกันภัย”) และ “บริษัทประกันชีวิต”
                                     ั
 E + C    =   27% + 5% = 32% ของเบี้ยประกันภัย หรือ 32% ของ P   อยู่ภายใต้การกำกับดูแลของสำนกงานคณะกรรมการกำกบและสงเสริมการประกอบธุรกจประกนภัย (คปภ.)
                                                                       ่
                                                                ั
                                                                                           ิ
                                           ั
                                                                                                  ั
 F x S    =   (0.006 x 60,000)    แต่มหลักเกณฑ์ และการกำกับดูแลภายใต้กฎหมายที่แตกต่างกัน กล่าวคือ การประกอบธุรกจประกนวินาศภัยอยู่
                                                                                                  ั
                                                                                           ิ
                  ี
 =   360      ภายใตการกำกับดูแลตามพระราชบัญญัติประกันวินาศภัย พ.ศ. 2535 และที่แก้ไขเพมเติม ส่วนการประกอบธุรกิจ
                    ้
                                                                                     ิ่
 P      =   360 + (32%ของ P)   ประกันชีวิตอยู่ภายใต้การกำกับดูแลตามพระราชบัญญัติประกันชีวิต พ.ศ. 2535 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
 =   360 + 0.32P
 P - 0.32P   =   360
 0.68P    =   360
 P   =   360 ÷ 0.68
 =   529.41 บาท
                                       ิ
                                       ์
                                      ิ
                                   ลขสทธของสมาคมประกนวนาศภยไทย หามนาไปใช้ในการแสวงหากําไรทางการคา ้
                                    ิ
                                                             ้
                                                               ํ
                                                        ั
                                                  ั
                                                    ิ
   51   52   53   54   55   56   57   58   59   60   61