Page 53 - InsuranceHandbook
P. 53
34 คู่มือประกันวินาศภัยไทย
Thai General Insurance Handbook
ั
เอาประกันภัยตามชนิดและจำนวนที่กำหนดไว้ ซึ่งทำให้ผู้เอาประกนภัยจ่ายเบี้ยประกันภัยน้อยลง และช่วยบรรเทา
ความเสียหายที่อาจจะเกิดขึ้นให้น้อยลงด้วย
ิ
่
ื
ี
8. เป็นตลาดจ้างงาน การประกันภัยมความสำคัญไม่ยิ่งหย่อนไปกว่าธุรกจอน ๆ ในบางประเทศ เช่น
อังกฤษ สหรัฐอเมริกา และญี่ปุ่น ธุรกิจประกันภัยมีขนาดพอ ๆ หรือใหญ่กว่าธนาคารพาณิชย์ ทำให้เกิดการจ้างงาน
บุคลากรที่เกี่ยวข้องกบธุรกิจประกันภัยเป็นจำนวนมากด้วย
ั
12. ทฤษฎีพื้นฐานที่เกี่ยวข้องกับการประกันภัย
ทฤษฎีพื้นฐานที่เกี่ยวข้องกับการประกันภัยซงมีความสำคัญต่อผู้รับประกันภัยในการพิจารณารับประกันภัย
่
ึ
ี
และการกำหนดอัตราเบี้ยประกันภัยเป็นอย่างมาก มอยู่ 3 ทฤษฎีด้วยกัน คือ
12.1 ทฤษฎีความน่าจะเป็น (Probability Theory)
12.2 กฎของการถัวเฉลี่ย (Law of Averages)
12.3 กฎว่าด้วยจำนวนมาก (Law of Large Numbers)
12.1 ทฤษฎีความน่าจะเป็น (Probability Theory)
ั
ในทางคณิตศาสตร์ ความน่าจะเป็นจะมีตัวเลขอยู่ระหว่างศูนย์ (0) กบหนึ่ง (1) เพื่อกำหนดให้กับเหตุการณ ์
ใดเหตุการณ์หนึ่ง ความน่าจะเป็นที่เท่ากับ 0 กคือไม่มีโอกาสที่เหตุการณ์นั้นจะเกิดขึ้น แต่ถ้าความน่าจะเป็นเท่ากับ
็
1 แสดงว่าเหตุการณ์นั้นเกิดขึ้นอย่างแน่นอน
ในทางปฏิบัติ ผู้รับประกันภัยจะนำทฤษฎีความน่าจะเป็นมาใช้ในการกำหนดเบี้ยประกันภัยโดยประมาณ
้
ั
ิ
ี
การความเสียหายทั้งหมดต่อปี จำนวนครงของการเกดความเสียหายจากภัยต่อปี และจำนวนเงินความเสยหายต่อ
ึ
เหตุการณ ซงผลลัพธ์จากการประมาณการดังกล่าวถือเป็นการประมาณความสูญเสียที่จะเกิดขึ้นต่อผู้รับประกันภัย
่
์
ั
่
ค่าของความนาจะเปนจะอยู่ระหว่าง 0 ถึง 1 เสมอ ตวอยาง สมมุติว่ามีรถยนต์ที่เอาประกันภัยอยู่ 1,000
็
่
คัน และคาดว่ามรถยนต์ 8 คันเสียหายโดยสิ้นเชิง เพราะฉะนั้น ค่าความน่าจะเป็นของการเสยหายโดยสิ้นเชิงของ
ี
ี
ั
รถยนต์ที่เอาประกันภัยนี้เท่ากบ 0.008 หรือ 0.8% เมื่อเชื่อมโยงเรื่องนี้เข้ากับการกำหนดอัตราเบี้ยประกันภัย ถ้าค่า
ความน่าจะเป็นสูงเท่าใด อัตราเบี้ยประกันภัยจะต้องเพียงพอสำหรับค่าความน่าจะเป็นของการเสียหายนั้น
12.2 กฎของการถัวเฉลี่ย (Law of Averages)
กฎของการถัวเฉลี่ยเป็นการเฉลี่ยความเสี่ยงภัยร่วมกัน ดังนั้น กฎของการถัวเฉลี่ยจึงเป็นหลักสำคัญของ
ั
การประกันภัย ถ้ามีภัยเกิดขึ้นและมีความสูญเสียจำนวนเท่าใดให้เฉลี่ยกันไประหว่างผู้เอาประกนภัย ซึ่งค่าความ
สูญเสียที่เฉลี่ยนี้แสดงออกในรูปของเบี้ยประกันภัย
้
็
หากมีผู้เอาประกันภัยจำนวนน้อยราย การประกันภัยกจะดำเนินไปไดยาก ส่งผลให้เบี้ยประกันภัยต่อรายม ี
จำนวนเงินสูง แต่หากมีผู้เอาประกันภัยเป็นจำนวนมากราย จะส่งผลให้เบี้ยประกันภัยต่อรายมีจำนวนเงินที่ต่ำลง
12.3 กฎว่าด้วยจำนวนมาก (Law of Large Numbers)
้
กฎว่าด้วยจำนวนมากหรือกฎว่าด้วยความเป็นไปได้เป็นพืนฐานของการประกันภัย กล่าวคือ ถ้าจำนวนวัตถุ
ั
ี
หรือเหตุที่เอาประกนภัยไว้มจำนวนมากเท่าใด ความเป็นไปได้ที่จะเกิดเหตุการณ์ใดเหตุการณ์หนึ่งจะใกล้เคียงกับ
ั
ี
้
เหตุการณ์ที่เกิดจริงมากขึ้นเท่านั้น ซึ่งเป็นประโยชนในการกำหนดอัตราเบยประกนภัยแต่ละประเภทของ
์
ผู้รับประกนภัย
ั
ลขสทธของสมาคมประกนวนาศภยไทย หามนาไปใช้ในการแสวงหากําไรทางการคา ้
ํ
ิ
ั
้
ั
ิ
ิ
ิ
์