Page 49 - InsuranceHandbook
P. 49
30 คู่มือประกันวินาศภัยไทย
Thai General Insurance Handbook
เช่น นาย ก. สามารถทจะเอาประกนอคคีภัยบ้านของเขาได้ ทั้งนี้เพราะ นาย ก. จะเปนผประสบ
ั
ั
็
้
ู
่
ี
้
ความเดือดร้อนทางการเงินถ้าหากมีไฟไหมขึ้นที่บ้านของเขา แต่ นาย ก. ไม่สามารถจะเอาประกันอัคคีภัยบ้านเพื่อน
ของเขาเพราะ นาย ก. จะไม่ประสบความเดือดร้อนทางการเงินใด ๆ แม้ว่าจะมีอัคคีภัยเผาผลาญบ้านเพื่อนของเขา
8. เบี้ยประกันภัยที่คิดโดยผู้รับประกันภัยต้องสมเหตุสมผล (The premium charged by the Insurer
must be reasonable)
ผู้เอาประกันภัยต้องสามารถจ่ายค่าเบี้ยประกันภัยได้ โดยมอัตราเบี้ยประกันภัยที่ไม่สูงจนเกินไป
ี
ขณะเดียวกัน ก็เป็นอตราเบี้ยประกันภัยที่เพยงพอให้ผู้รับประกันภัยสามารถจ่ายค่าสินไหมทดแทน คาใช้จายใน
่
ี
ั
่
การขาย ค่าใช้จ่ายในการดำเนินงาน และยังมีเหลือเป็นกำไรจากการดำเนินงานบ้าง
9. ลักษณะสำคัญของความเสี่ยงที่ปกติไม่สามารถจะเอาประกันภัยได้
มีความเสี่ยงบางประเภทซึ่งปกติไม่สามารถรับประกันภัยโดยผู้รับประกันภัยทั่วไป เช่น
1. ความเสี่ยงทางการตลาด (Market Risk) เช่น การเปลี่ยนแปลงในรสนิยมของผู้บริโภค ฯลฯ
ั
2. ความเสี่ยงทางการเงิน (Financial Risk) เช่น ความสญเสียที่อาจขาดทนจากการลงทนในหลกทรัพย ฯลฯ
ุ
ุ
ู
์
3. ความเสี่ยงในการผลิต (Production Risk) เช่น การใช้ระบบการผลิตที่ล้าสมัยทำให้เสียเปรียบคู่แข่งขัน
ที่ใช้ระบบหุ่นยนต์ซึ่งเพิ่มประสิทธิภาพ และลดต้นทุนการผลิตด้วย ฯลฯ
4. ความเสี่ยงทางการเมือง (Political Risk) เช่น ภัยสงคราม สงครามกลางเมอง การก่อวินาศกรรม และ
ื
การก่อการร้าย ฯลฯ
การที่ผู้รับประกันภัยทั่วไปไม่สามารถจะรับประกันภัยความเสี่ยงเหล่านี้ได้เพราะ
1. เป็นความเสี่ยงที่มลักษณะของการเก็งกำไร ซ่งทำให้มีโอกาสที่อาจจะได้รับกำไรจากความเสี่ยงนั้นได้
ึ
ี
ี
ั
2. เป็นความเสี่ยงที่มโอกาสจะเกิดมหนตภัย (Catastrophic Loss) ได้มาก โดยเฉพาะยิ่งภัยสงคราม
ื
ภัยจากอาวุธนิวเคลียร์ ซึ่งอาจจะทำลายเมืองทั้งเมือง หรือมีคนเป็นจำนวนมากได้รับบาดเจ็บ หรอเสยชีวิตจาก
ี
ี
การสู้รบกน เนื่องจากมความเสียหายเกิดขึ้นในวงกว้าง ส่งผลให้ผู้เอาประกันภัยจำนวนมากได้รับความสูญเสีย
ั
ในคราวเดียวกัน ซึ่งผู้รับประกันภัยแต่ละรายอาจไมสามารถชดใช้ค่าเสียหายได้หมด และอาจส่งผลให้
่
ผู้รับประกันภัยล้มละลายด้วย
3. เป็นความเสี่ยงที่ไม่สามารถคำนวณความน่าจะเป็นของการเกิดความเสียหายได้อย่างแม่นยำ และทำให้
ยากต่อการคำนวณเบี้ยประกันภัยที่เหมาะสมสำหรับความเสี่ยงเหล่านั้น
ี
ั
่
ี
4. เป็นความเสี่ยงที่ขาดสถิติ ทำให้ไม่มีข้อมูลเพยงพอที่จะใช้ในการคำนวณเบี้ยประกนภัยทเหมาะสม
ู
ความเสี่ยงที่ไม่อาจคำนวณจากข้อมลในทางสถิติ จึงไม่สามารถเอาประกันภัยได้
5. เป็นความเสี่ยงที่ไม่มีสิทธิส่วนได้เสียในสิ่งที่เอาประกันภัย ถ้าผู้เอาประกันภัยไม่มีส่วนได้เสียในสิ่งที่
้
ั
เอาประกันภัย เขาจะไม่ได้รับความสูญเสียจากการเกิดวินาศภัยนนแต่อยางใด เช่น นาย ก. ไม่ได้เป็นเจ้าของ หรือ
่
เป็นเจ้าหนี้ในบ้านที่เอาประกันอัคคีภัย ทำให้ไม่มีความเดือดร้อนทางการเงินใด ๆ ในกรณีที่บ้านหลังนั้นถูกไฟไหม้
ี
่
เสียหาย นาย ก. จึงไมมสิทธิ์เอาประกันภัยในบ้านหลังนั้นได้
ี
6. เป็นความเสี่ยงที่ขัดต่อกฎหมาย ศีลธรรมอนด หรือผลประโยชน์ของสาธารณะ เช่น ผู้ขับขี่ยานพาหนะ
ั
่
้
ไมสามารถเอาประกนภัยค่าปรับเมื่อกระทำผิดกฎจราจร เพราะจะทำใหคนที่ควรได้รับโทษไม่ต้องไดรับโทษ ทำให้
้
ั
ไม่หลาบจำ
่
็
อยางไรกตาม ในปัจจุบันนี้มีผู้รับประกันภัยบางรายที่อยู่ในลอยด์แห่งลอนดอน (Lloyd’s of London) ซึ่ง
ี
ั
้
เป็นผู้รับประกันภัยที่มความชำนาญเฉพาะดาน (Specialized Insurer) เริ่มเข้ามารับประกนภัยความเสี่ยง
่
ทางการเมือง ซงเรียกว่าการประกันภัยความไม่สงบทางการเมือง (Political Violence Insurance)
ึ
้
ลขสทธของสมาคมประกนวนาศภยไทย หามนาไปใช้ในการแสวงหากําไรทางการคา ้
ิ
ิ
์
ั
ิ
ํ
ิ
ั