Page 51 - InsuranceHandbook
P. 51
32 คู่มือประกันวินาศภัยไทย
Thai General Insurance Handbook
ื
2. บรรเทาความเดอดร้อนทางการเงิน ภัยบางอยางอาจมีความรุนแรงมาก เช่น การที่ผู้ขับขี่รถยนต์
่
ุ
ประสบอบัติเหตุรถคว่ำ ทำให้รถเสียหาย และตัวผู้ขับขี่เองได้รับบาดเจ็บสาหัส ซึ่งจะต้องเสียค่าซ่อมรถ และ
ค่ารักษาพยาบาลเป็นจำนวนมาก เมื่อรักษาแล้วก็ไม่หาย และไม่สามารถประกอบอาชีพใด ๆ ได้อก ทำให้กลายเป็น
ี
ั
ุ
ื่
บคคลทพพลภาพ หากมีประกนภัยไว้กจะได้รับการชดใช้ค่าสินไหมทดแทนจากผู้รับประกันภัยเพอ
็
ุ
บรรเทาความเดือดร้อนได้ระดับหนึ่ง
3. ประกนรายได้ที่จะใช้จ่ายในการดำรงชีพ การที่บุคคลใดบุคคลหนึ่งมีประกันชีวิตไว้กเปรยบเสมือน
ั
ี
็
่
ี
ั
้
ว่าบุคคลนั้นได้สร้างหลักประกนรายไดแกตนเองว่าจะมเงนไว้ใช้จายในยามชรา แต่ถ้าหากบุคคลนั้นเสียชีวิตก่อน
ิ
่
วัยอันควร เช่น เสียชีวิตกะทันหันจากอุบัติเหตุ หรือหัวใจวายเฉียบพลัน ครอบครัวของเขาก็จะได้รับชดใช้ค่าสินไหม
้
ั
ทดแทนตามจำนวนเงินที่ได้เอาประกนภัยไว้ ซึ่งพอที่จะใช้จ่ายในการดำรงชีพไปไดระยะหนึ่ง ตลอดจนช่วยชำระ
หนี้สินต่าง ๆ ที่อาจจะมีค้างอยู่
ี
ั
4. ลดหย่อนภาษี เบ้ยประกนชีวิตของผู้เอาประกันภัยซึ่งเป็นบุคคลธรรมดาที่เอาประกันชีวิตกับบริษัท
์
ประกันชีวิตในประเทศไทยซึ่งมีระยะเวลาของกรมธรรมประกนชีวิตตั้งแต่ 10 ปีขึ้นไป ตลอดจนเบี้ยประกันภัย
ั
ั
ุ
สขภาพของตนเอง สามารถนำมาหักลดหย่อนภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาได้ตามเบี้ยประกนภัยที่จ่ายจริง แต่สูงสุดไม่
เกินวงเงินที่กรมสรรพากรกำหนดให้ต่อคนต่อปี ในขณะที่ผู้เอาประกันภัยซงเป็นนิติบุคคล เช่น บริษัท ห้าง ร้าน
ึ
่
ั
ึ
ที่เอาประกันภัยประเภทต่าง ๆ สามารถนำเบี้ยประกนภัยที่ได้จ่ายไปหักเป็นค่าใช้จ่ายในการดำเนินงานของธุรกิจซง
่
ิ
่
ั
ั
่
ในบางประเทศมีมาตรการสงเสริมให้ธุรกจเอาประกนภัยบางประเภท เช่น การประกนภัยการขนสงสินค้าระหว่าง
ั
ประเทศขาเข้ากับผู้รับประกนภัยในประเทศของผู้นำเข้า โดยอนุญาตให้หักลดหย่อนค่าเบี้ยประกันภัยที่ได้จ่ายไป
เป็น 2 เท่าของเบี้ยประกันภัยที่ได้จ่ายไปจริง
11.2 ด้านเศรษฐกิจ และสังคม
1. ช่วยให้มีการระดมทุน ซึ่งเป็นปัจจัยสำคญของการพฒนาเศรษฐกิจของประเทศ และการระดมทุน
ั
ั
่
นั้นจะสำเร็จได้ก็โดยการประหยัดของประชาชนในประเทศนั้น ๆ และนำเอาสวนที่ออมไว้นั้นไปลงทุน
บริษัทประกนภัยจัดเป็นสถาบันการเงินประเภทหนึ่ง ซ่งมีส่วนส่งเสริมให้ประชาชนประหยัดทางอ้อม คือ นำเงินที่หา
ึ
ั
ิ
มาได้ส่วนหนึ่งฝากไว้ในรูปของการเอาประกันชีวิต ซงผู้เอาประกันภัยจะได้รับความค้มครอง และไดออมเงนไป
้
่
ุ
ึ
พรอมกัน
้
ั
2. ออมทรัพย์ การที่บุคคลใดบุคคลหนึ่งมีการเอาประกนชีวิตไว้ก็เปรียบเสมือนว่าบุคคลนั้นได้มี
การออมอย่างสม่ำเสมอทุกเดือน หรือทุกปี เมื่อเขามีความจำเป็นต้องใช้เงินอย่างกะทันหัน ก็สามารถจะเบิกจากเงิน
้
็
ั
ั
ั
ที่สะสมไว้นี้ ขณะเดียวกันกยังได้รับการคุ้มครองในกรณีเสียชีวิตดวย เงินที่ผู้เอาประกนภัยได้รบตามสญญาประกน
ั
่
ชีวิตอาจเปนเงนจำนวนมากพอที่จะใช้จายในวัตถุประสงค์ต่าง ๆ เช่น ทัศนาจร หรือเป็นทุนการศึกษาแก่บุตรธิดา
็
ิ
เป็นต้น
ุ
ิ
ั
3. รับผดชอบต่อสงคม หากธุรกิจมีประกันภัยความรับผิดต่อบคคลภายนอกไว้ ในกรณีที่เกิด
ความผิดพลาดในการดำเนินงาน เช่น ผู้รับเหมาก่อสร้างอาคารสูงแห่งหนึ่งทำวัสดุก่อสร้างหล่นใส่หลังคาบ้านที่อยู่
ุ
ุ
ติดกับสถานที่ก่อสร้างได้รับความเสียหาย โรงงานอตสาหกรรมแห่งหนึ่งเกิดอบัติเหตุสารเคมีรั่วไหลจากโรงงานออก
สู่แหล่งน้ำ หรือชั้นบรรยากาศ และทำให้ประชาชนที่อยู่ใกล้เคียงโรงงานได้รับบาดเจ็บ หรือเสียชีวิตจากมลภาวะที่
ิ
เกิดขึ้น ผู้รับประกันภัยก็จะช่วยในการประนีประนอม และชดใช้ค่าเสียหายต่าง ๆ ที่เกดขึ้นแก่ผู้ประสบภัยเหล่านั้น
้
ในนามของผู้เอาประกันภัยทำให้ประหยัดเวลา และไดรับความสะดวก
ั
ุ
4. สร้างหลักประกันความมั่นคง และสวัสดิภาพทางสงคม การที่นายจ้างเอาประกนภัยอบัติเหตุกลุ่ม
ั
ให้แก่ลูกจ้างในกรณีที่ประสบอุบัติเหตุ ซึ่งอาจทำให้ลูกจ้างได้รับบาดเจ็บ พิการ ทุพพลภาพ หรือเสียชีวิต มส่วนช่วย
ี
เพิ่มขวัญ และกำลังใจของลูกจ้างเหล่านั้นให้ดีขึ้น และช่วยเพิมผลผลิตของประเทศทางออมดวย การประกันภัยจึงมี
่
้
้
ส่วนช่วยสร้างความมั่นคงให้แก่สังคม ทำให้สังคมมีหลักประกัน และสวัสดิภาพที่ดีขึ้น
ิ
ั
ั
ํ
้
ิ
ลขสทธของสมาคมประกนวนาศภยไทย หามนาไปใช้ในการแสวงหากําไรทางการคา ้
ิ
์
ิ