Page 48 - InsuranceHandbook
P. 48
บทที่ 3 การประกันภัย 29
ั
่
ี
กอนเลย กรณีเช่นนี้บริษัทประกันภัยที่รับประกนอัคคภัยของ นาย ข. ไม่ต้องชดใช้ค่าสินไหมทดแทนแก่ นาย ข.
เพราะไฟไหม้ที่เกิดขึ้นในโกดังของ นาย ข. ไม่ได้เกิดจากอบัติเหตุ แต่เกิดจากการกระทำโดยทุจริตของผู้เอา
ุ
ประกันภัย คือ นาย ข. ที่หวังจะได้รับเงินค่าสินไหมทดแทนจากผู้รับประกันภัย
อย่างไรก็ตาม ไฟที่ไหม้ลามจากโกดงของ นาย ข. ไปยังโกดังของ นาย ก. นั้นถือว่าเป็นอบัติเหตุที่ไม่ได้เกิด
ุ
ั
ั
จากการกระทำโดยเจตนา หรือรู้เห็นเป็นใจของ นาย ก. กรณีเช่นนี้ความเสียหายจากอคคีภัยที่มีต่อโกดัง และ
สตอกสินค้าของ นาย ก. จะได้รับการคุ้มครอง และชดใช้ค่าสินไหมทดแทนตามกรมธรรม์ประกันอัคคีภัยของ นาย ก.
๊
3. ความเสยหายที่เกิดขึ้นนั้นต้องสามารถหาสาเหตุ และประเมนความเสียหายเป็นตัวเงินได้ (The loss
ิ
ี
must be determinable and measurable)
วัตถุประสงค์ของข้อกำหนดนี้ก็เพอให้เจ้าหน้าที่ชดใช้ค่าสินไหมทดแทนของผู้รับประกนภัยค้นหาสาเหตุที่
ั
ื่
่
ทำให้เกิดความเสียหายขึ้นว่าเป็นสาเหตุที่ได้รับการคุ้มครองตามกรมธรรม์ประกนภัยนั้นหรือไม และถ้าหากคุ้มครอง
ั
ผู้รับประกันภัยจะชดใช้ค่าสินไหมทดแทนแก่ผู้เอาประกันภัยเป็นจำนวนเงินเท่าใด โดยความเสียหายที่เกิดขึ้นต้องมี
ความแน่นอนทงในด้านสาเหต เวลา สถานที่ และจำนวนเงินค่าเสียหาย หากไม่มีข้อกำหนดนี้แล้วจะเกิด
ุ
้
ั
ุ
่
ิ
่
ความยงยากในการพจารณาชดใช้คาสินไหมทดแทนเป็นอันมาก โดยเฉพาะในกรณีที่ไม่สามารถวินิจฉัยได้ว่า
ุ
ั
ิ
ความเสียหายนั้นเกดจากสาเหตใด และได้รับการคุ้มครองตามกรมธรรมประกนภัยหรือไม นอกจากน้น หากไม่
์
ั
่
ั
็
สามารถประเมินความเสียหายเป็นตัวเงินได้แล้ว ผู้รับประกนภัยกไม่สามารถชดใช้ค่าเสียหายที่แท้จริงได้อย่าง
ถูกต้อง
4. ความเสียหายที่เกิดขึ้นนั้นต้องไม่เป็นมหันตภัย (The loss should not be catastrophic)
ี
่
้
็
ั
ความเสี่ยงตาง ๆ ทรับประกนภัยไว้เปนจำนวนมากรายตองไม่เกิดความเสียหายขึ้นพร้อมกัน ทั้งนี้เพราะ
่
ั
้
ั
ี
ผู้รับประกันภัยตั้งข้อสมมุติฐานในการคำนวณอตราเบยประกนภัยไว้ว่าความเสียหายจะไม่เกิดขึ้นพร้อมกัน มภัย
ี
่
ึ
บางอย่างซึ่งสามารถก่อให้เกิดความเสียหายในแต่ละครั้งคิดเป็นเงินจำนวนมหาศาลซงเกินกำลังของผู้รับประกันภัย
รายเดียว หรือหลายรายจะรับภาระได้ ซงผู้รับประกันภัยจะมีเงินไม่พอจ่ายค่าเสียหายที่เป็นมหันตภัย เช่น
ึ
่
ความเสยหายจากภัยสงคราม ภัยจากระเบิดนิวเคลียร์ แผ่นดนไหว มหาอทกภัย โรคระบาดที่แพร่กระจายเป็น
ิ
ี
ุ
่
วงกว้างไปทั่วโลก (Pandemic) เป็นต้น ซงปกติแล้วผู้รับประกันภัยโดยทั่วไปไม่สามารถรับประกันภัยได้ แตใน
ึ
่
ปัจจุบันมีผู้รับประกันภัยบางรายในต่างประเทศที่เริ่มสนใจจะรับประกันภัยเหล่านี้ โดยมการกำหนดเงื่อนไข
ี
การรับประกันภัยเป็นพิเศษ
5. ความเสี่ยงนั้นควรเป็นความเสี่ยงแท้จริง (Pure Risk) และเป็นความเสี่ยงจำเพาะ (Particular Risk)
ข้อกำหนดนี้ก็มีลักษณะคล้ายคลึงกับข้อที่แล้ว ซึ่งความเสียหายนั้นควรจะเกิดกับบุคคลบางคน หรือ
ิ
บางกลุ่มเท่านั้น หากมความเสียหายเป็นจำนวนมากเกิดขึ้นพรอม ๆ กันจะก่อให้เกดปญหาการดำเนนงาน และ
ิ
ี
้
ั
ปัญหาทางการเงินแก่ผู้รับประกันภัยได้ ขณะเดียวกันผู้เอาประกันภัยก็ควรจะได้รับการชดใช้เท่ากับความเสียหายที่
ั
เกิดขึ้นจริงเท่านั้น และไม่ควรจะได้รับกำไรจากการเอาประกนภัย เพราะจะกอใหเกิดความไม่สุจริตของ
้
่
ผู้เอาประกันภัยขึ้นได้
6. ความน่าจะเป็นที่จะเกิดความสูญเสียจะต้องคำนวณ หรือประมาณได้ (The probability of loss must
be calculable)
ั
ุ
ผู้รับประกนภัยจะตองคำนวณความน่าจะเป็นที่จะเกิดความสูญเสีย และความรนแรงของความสูญเสียที่
้
่
ื่
ั
คาดว่าจะเกิดขึ้นได้อยางแม่นยำพอสมควร ทั้งนี้เพอจะได้นำข้อมลเหล่านี้มาคำนวณเบี้ยประกนภัยที่พอเพียงสำหรับ
ู
จ่ายเป็นค่าสินไหมทดแทน ค่าใช้จ่ายในการดำเนินงาน และมีเหลือเป็นเงินสำรองสำหรับความเสียหายที่คาดไม่ถึง
7. เป็นสิ่งจำเป็นที่บุคคลที่เอาประกันภัยต้องเป็นบุคคลเดียวกับบุคคลที่จะได้รับความเดือดร้อน ถ้าหากมี
ความสูญเสียเกิดขึ้น (It is essential that the person insuring must be the one who suffer should the
loss occur)
ิ
์
ิ
ิ
ลขสทธของสมาคมประกนวนาศภยไทย หามนาไปใช้ในการแสวงหากําไรทางการคา ้
้
ํ
ั
ั
ิ