Page 44 - InsuranceHandbook
P. 44
บทที่ 3 การประกันภัย 25
ิ
การชดใช้จากผรับประกันภัยอย่างแน่นอน ดั่งคำขวัญของสมาคมประกนวินาศภัยไทยที่ว่า “วนาศภัยบรรเทาได ้ จะลดความเสี่ยงของผู้รับประกันภัยเกี่ยวกับผลลัพธ์จริงของความเสียหายที่จะเกิดขึ้นในแต่ละปี ทั้งนี้เพราะ
ั
ู
้
ิ
ด้วยการประกันภัย” ผู้รับประกันภัยจะมีความไม่แน่นอนเกี่ยวกับผลลัพธ์จริงทั้งหมดที่จะเกดขึ้นในแต่ละกลุ่มน้อยลง
จากสิ่งต่าง ๆ ที่ได้อธิบายมาข้างต้น สามารถจะอธิบายกลไกของการประกันภัยโดยใช้รูปภาพต่อไปนี้ 5.2 การโอนความเสี่ยง
การโอนความเสี่ยงเป็นอกลักษณะหนึ่งที่สำคัญของการประกนภัย การประกันภัยจะเกี่ยวข้องกับการโอน
ั
ี
ึ
ความสญเสียทางการเงินซ่งอาจเกิดขึ้นจากความเสี่ยงแท้จริง เช่น ความเสี่ยงต่อการเกิดอบัติเหตุซึ่งจะต้องเสีย
ู
ุ
ี
ค่ารักษาพยาบาล ความเสี่ยงต่อการเกดอัคคภัยซึ่งจะต้องเสียค่าซ่อมแซมบาน ไปยังผู้รับประกันภัยซึ่งมฐานะ
้
ิ
ี
่
ึ้
ทางการเงินมั่นคง และสามารถจะชดใช้ค่าเสียหายที่เกิดขนเพือให้ผู้เอาประกันภัยกลับคืนสู่สภาพเดิมได้
5.3 การชำระเบี้ยประกันภัย
ึ้
ผู้รับประกันภัยก็เป็นผู้ประกอบธุรกิจที่เข้ามารับภาระทางการเงินที่อาจเกิดขนจากความเสี่ยงบางอย่างแทน
ื่
ผู้เอาประกันภัยซึ่งเผชิญกับความเสี่ยงเหล่านั้น เพอให้ผู้รับประกันภัยมีเงินที่สามารถชดใช้ให้ผู้เอาประกันภัย
บางรายซึ่งได้รับความเสียหายจากภัยที่คุ้มครองไว้ ผู้รับประกันภัยจึงต้องเก็บเงินค่าเบี้ยประกนภัยจาก
ั
ั
รูปภาพที่ 3–2 กลไกของการประกันภัย ผู้เอาประกันภัยแต่ละรายตามสภาพความเสี่ยง และจำนวนเงินเอาประกันภัยของผู้เอาประกนภัยแต่ละราย โดยผู้ที่
มีความเสี่ยงสูงกว่าก็ควรจะจ่ายเบี้ยประกันภัยในอัตราที่สูงกว่าผู้ที่มีความเสี่ยงต่ำกว่า
5. ลักษณะขั้นพื้นฐานของการประกันภัย
การประกันภัยมีลักษณะขั้นพื้นฐานที่สำคัญ 5 ประการ คือ 5.4 การชดใช้ความเสียหายที่เกิดขึ้นโดยอุบัติเหตุ
่
ุ
5.1 การรวมกลุ่มของความเสี่ยง ความเสียหายที่เกิดขึ้นโดยอบัติเหตุเป็นเหตุการณ์ที่ไม่อาจคาดคิด หรือทราบมากอน และเป็นผลของ
ั
5.2 การโอนความเสี่ยง ความไม่แน่นอน ซึ่งผู้รับประกันภัยจะไม่ชดใช้ความเสียหายที่เกิดขึ้นจากการกระทำโดยเจตนาของผู้เอาประกนภัย
่
ิ
ื
่
5.3 การชำระเบี้ยประกันภัย หรือผู้รับประโยชน์ เช่น การที่เจ้าของโรงงานแหงหนึ่งตัดสินใจวางเพลิงเผาโรงงานของตนเพอหวังเอาเงน
5.4 การชดใช้ความเสียหายที่เกิดขนโดยอุบัติเหตุ ค่าสินไหมทดแทนจากผู้รับประกันภัย ทั้งนี้เพราะผู้เอาประกันภัยสามารถจะทราบได้ล่วงหน้าว่าจะเกิดผลลัพธ์
ึ้
5.5 การชดใช้ค่าสินไหมทดแทน อย่างไร
5.1 การรวมกลุ่มของความเสี่ยง 5.5 การชดใช้ค่าสินไหมทดแทน
ั
การรวมกลุ่มของความเสี่ยงเป็นหวใจของการประกนภัย การรวมกลุ่มเข้าด้วยกันทำให้มีการกระจาย ภายหลังจากที่ผู้รับประกันภัยได้รับชำระเบี้ยประกันภัยจากผู้เอาประกันภัยแล้ว ก็เป็นหน้าที่ของ
ั
่
ิ
ความสูญเสียทางการเงินที่เกิดขึ้นกับคนบางคนไปยังทุกคนในกลุ่มนั้น โดยกระบวนการนี้ทำให้สมาชิกแต่ละคนใน ผู้รับประกันภัยที่จะต้องปฏิบัติตามเงื่อนไขในสัญญาประกันภัย โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การชดใช้ค่าสนไหมทดแทนแก
ี
ั
ั
กลุ่มร่วมกันเฉลี่ยความสูญเสียทางการเงินที่เกิดขึ้นเพียงคนละเล็กน้อยเท่านั้น ผู้เอาประกันภัยที่ได้รับความเสยหายจากภัยที่ได้ซื้อความคุ้มครองไว้ หากผู้เอาประกนภัยไม่ชำระเบี้ยประกนภัย
ี
่
นอกจากนั้น การรวมกลุ่มของความเสี่ยงยังเกี่ยวข้องกับการรวมกลุ่มของความเสยงจำนวนมากรายที่มี ให้แก่ผู้รับประกันภัยภายในกำหนดเวลา และเกิดวินาศภัยขึ้น ผู้รับประกันภัยมีสิทธิ์ปฏิเสธการชดใช้
้
ึ
ลักษณะคล้ายคลึงกัน ซงจะช่วยใหผู้รับประกันภัยสามารถใช้กฎว่าด้วยจำนวนมาก (Law of Large Numbers) ค่าสินไหมทดแทนได้
่
็
ี
ั
ในการพยากรณ์ความเสียหายที่จะเกิดขึ้นในอนาคตได้ค่อนข้างแม่นยำ ในกรณีที่เกิดความเสียหายจากภัยที่ผู้เอาประกันภัยไม่ได้ซื้อความคุ้มครองไว้ ผู้รับประกนภัยกไม่มหน้าที่
ั
้
กฎว่าด้วยจำนวนมากเป็นกฎว่าด้วยความเป็นไปได้ซึ่งเป็นพืนฐานของการประกันภัย ถ้าจำนวนวัตถุที่มี ต้องชดใช้ค่าสินไหมทดแทนแก่ผู้เอาประกนภัย
ิ
ความเสี่ยงภัยในลักษณะเดียวกัน และมีความเป็นอสระต่อกันที่เอาประกันภัยไว้มีจำนวนมากเท่าใด ความเป็นไปได ้
ของความเสียหายที่เกิดขึ้นจริงจะใกล้เคียงกับความเสียหายที่คาดหมายไว้มากขึ้นเท่านั้น ซึ่งเป็นประโยชน์ใน 6. ความเป็นมาของการประกันภัย
ี
การกำหนดอัตราเบี้ยประกันภัยสำหรับการประกันภัยแต่ละประเภทของผู้รับประกันภัย มีเรื่องปรากฏในพระคัมภีร์ไบเบิลเกี่ยวกับโจเซฟ และความอดอยากในประเทศอยิปต์ ซึ่งถือว่าเป็น
ึ
ิ
ั
็
กฎว่าด้วยจำนวนมากเปนหัวใจในการดำเนินงานของผู้รับประกนภัย ซึ่งอาศัยหลักคณิตศาสตร์ที่ว่า เมื่อมี การประกันภัยโครงการแรกเท่าที่บันทกไว้ในประวัตศาสตร์ เล่ากันว่า คืนวันหนึ่ง กษัตริย์ฟาโรห์ทรงพระสุบินว่า
์
ี
ิ
้
จำนวนของภัยในกลุ่มมากขึ้น จะทำให้ผลลัพธ์จริงที่เกิดขึ้นใกล้เคียงกับผลลัพธ์ที่คาดไว้ มีวัวอวนเจ็ดตัวกำลังถูกวัวซูบผอมเจ็ดตัวกัดกิน โจเซฟทำนายฝันว่า ประเทศอียปต์จะมพืชพันธุธัญญาหารอุดม
กฎว่าด้วยจำนวนมากจะบอกให้เราทราบว่า โดยการเพิ่มจำนวนของภัยเข้าไปในกลุ่ม เช่น เพิ่มจำนวนคนที่ สมบูรณ์เป็นเวลาเจ็ดปี และต่อจากนั้นจะเกิดความแห้งแล้ง ประชาชนจะอดอยากปากแห้งเป็นเวลาเจ็ดปี ดังนั้น
ี
ี
ุ
่
่
ิ
่
เอาประกันภัยอบัติเหตุ เพิมจำนวนบ้านที่เอาประกันอัคคภัย หรือเพมจำนวนรถที่เอาประกันภัยรถยนต์ จึงทูลเสนอตอกษัตริย์ฟาโรห์ให้สะสมธัญญาหารในปทอดมสมบูรณ์ไว้สำหรับเลี้ยงประชาชนในปีที่ข้าวยากหมาก
ุ
ี
่
แพง วิธีนี้เรียกได้ว่าเป็นการประกันภัยพื้นฐาน กล่าวคือ เก็บออมตั้งแต่วันนี้เพื่อไว้ใช้ในอนาคต
ิ
ั
ั
ํ
้
ิ
ลขสทธของสมาคมประกนวนาศภยไทย หามนาไปใช้ในการแสวงหากําไรทางการคา ้
ิ
ิ
์