Page 41 - InsuranceHandbook
P. 41
22 คู่มือประกันวินาศภัยไทย
Thai General Insurance Handbook
ิ
ทรัพย์สินที่เอาประกันภัยนั้นกลับคืนสู่สภาพเดิมก่อนที่จะเกดความเสียหายขึ้น โดยผู้รับประกันภัยจะได้รับเงิน
ค่าเบี้ยประกันภัยตามจำนวนที่ตกลงกันเป็นการตอบแทนจากผู้เอาประกันภัย
การประกนภัยจึงเป็นเครื่องมือทางสังคมในการจัดสรรเงินเพอทดแทนผลของวินาศภัยที่เกิดกับสมาชิก
ั
ื่
ั
บางคนในสงคมนั้น เงินที่นำมาจัดสรรนั้นเป็นเงินที่เกบรวบรวมมาจากสมาชิกทุกคนที่เข้าร่วมในโครงการ ดังนั้น
็
การประกันภัยจึงเป็นเสมือนกองกลางซึ่งผู้เอาประกันภัยทุกคนจะต้องช่วยกันจ่าย โดยจะมีจำนวนค่าเบี้ยประกันภัย
ั
มากหรือน้อยขึ้นอยู่กับความเสี่ยงที่นำมาเอาประกนภัย และเมื่อมีวินาศภัยที่ได้เอาประกนภัยไว้เกดขึ้น สมาชิกที่
ั
ิ
ได้รับความเสียหายก็มีสิทธิ์ที่จะเรียกร้องค่าสนไหมทดแทน และได้รับการชดใช้จากกองกลางตามค่าเสียหายที่
ิ
เกิดขึ้นจริง แต่สูงสุดไม่เกินจำนวนเงินที่ได้เอาประกันภัยไว้
ั
ั
จะเห็นได้ว่า การประกนภัยมิได้เป็นการรับประกันว่าจะไม่เกิดภัยนั้นขึ้น เช่น การที่ นาย ก. เอาประกน
ั
้
ี
อัคคภัยบ้านของเขาไว้กับผู้รับประกนภัย ก็ไม่ไดหมายความว่าจะไม่เกิดไฟไหม้ที่บ้านของเขาแต่อย่างใด แต่สิ่งที่
ั
นาย ก. ในฐานะที่เป็นผู้เอาประกันภัยจะได้รับคือ ความม่นใจว่าหากเกิดไฟไหม้บ้านของเขาจริง ผู้รับประกันภัยจะ
ชดใช้ค่าสินไหมทดแทน เพื่อให้เขามีเงินเพียงพอที่จะไปซ่อมแซมบ้านที่ถูกไฟไหม้เสียหายให้กลับคืนสู่สภาพเดิมได้
่
ึ
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 861 บัญญัติว่า “อนว่าสัญญาประกันภัยนั้น คือสัญญาซงบุคคล
ั
ี
หนึ่งตกลงจะใช้ค่าสินไหมทดแทนหรือใช้เงินจำนวนหนึ่งให้ ในกรณีวินาศภัยหากมขึ้น หรือในเหตุอย่างอื่นในอนาคต
ดังได้ระบุไว้ในสัญญา และในการนี้บุคคลอีกคนหนึ่งตกลงจะส่งเงินซึ่งเรียกว่า เบี้ยประกันภัย”
ุ
ิ
ี
ั
สรป การประกนภัย คือ วธการกระจายความเสี่ยงอย่างหนึ่ง ซึ่งสมาชิกทุกคนที่ประสงค์จะเข้าร่วมใน
โครงการจะต้องจ่ายเงินคนละเล็กละน้อยซึ่งเรียกว่า เบี้ยประกันภัยให้กับกองกลาง และเมื่อมสมาชิกคนหนึ่งคน
ี
ใดได้รับความเสียหายจากเหตุการณ์ที่เอาประกันภัยไว้ สมาชิกผู้นั้นก็จะได้รับชดใช้จากกองกลางตามที่ตกลงกัน
้
ไว้ โดยมีผรับประกันภัยเป็นผู้จัดการกองกลางนี้ ตั้งแต่การประเมนความเสี่ยงไปจนถึงการให้บริการชดใช
ิ
ู้
ค่าสินไหมทดแทน
2. คำนิยามของการประกันภัยที่ใช้
การประกนภัย เป็นการรวมกลุ่มของความเสียหายที่อาจเกิดขึ้นโดยอุบัติเหตุ โดยการโอนความเสี่ยง
ั
ั
เหล่านั้นไปยังผู้รับประกันภัย โดยการทำสัญญาระหว่างผู้เอาประกนภัย และผู้รับประกันภัย ซึ่งสญญาว่าจะชดใช้
ั
ี
ื่
ค่าเสียหายแก่ผู้เอาประกนภัยตามความเสยหายที่เกิดขึ้นจริง หรือเพอให้ผลประโยชน์ทางการเงินอนใดในกรณีที่มี
ั
ื่
่
เหตุการณ์นั้นขึ้น หรือเพือให้บริการอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับความเสี่ยงนั้น
3. บุคคลที่เกี่ยวข้องในสัญญาประกันภัย
ตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย์ มาตรา 862 ได้บัญญัติไว้ว่ามีบุคคลที่เกี่ยวข้องในสัญญาประกันภัย
่
อยู่ 3 บุคคลด้วยกัน คือ
ิ
3.1 ผู้เอาประกันภัย (Insured) เป็นคู่สัญญาฝ่ายซึ่งมหน้าที่เปิดเผยข้อความจริงที่สำคัญต่อการพจารณา
ี
ของผู้รับประกันภัย มีหน้าที่ชำระเบี้ยประกันภัยตามจำนวนที่ได้ตกลงไว้ในสัญญา และมสิทธิเรียกร้อง
ี
ค่าสินไหมทดแทนตามความเสียหายที่แท้จริงเมื่อเกิดเหตุกบสิ่งที่เอาประกันภัย
ั
3.2 ผู้รับประกันภัย (Insurer) เป็นคู่สัญญาฝ่ายซึ่งมีหน้าที่พิจารณารับประกันภัย มีสิทธิรับเบี้ยประกันภัย
และชดใช้ค่าสินไหมทดแทนเมื่อเกิดความเสียหายกับสิ่งที่รับประกันภัยไว้ ซึ่งตามมาตรา 6 ของพระราชบัญญัติ
ิ
ั
ประกนวินาศภัย พ.ศ. 2535 และที่แก้ไขเพมเติม ไดกำหนดให้การประกอบธุรกจประกนวินาศภัยจะกระทำได้เมื่อ
ิ่
้
ั
ุ
ได้จัดตั้งขึ้นในรูปบริษัทมหาชนจำกัดตามกฎหมายว่าด้วยบริษัทมหาชนจำกัด และโดยได้รับใบอนญาตประกอบ
ธุรกิจประกันวินาศภัยจากรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังโดยอนุมัติของคณะรัฐมนตรีเท่านั้น
ิ
์
ลขสทธของสมาคมประกนวนาศภยไทย หามนาไปใช้ในการแสวงหากําไรทางการคา ้
ิ
ิ
ิ
ั
ั
ํ
้