Page 42 - InsuranceHandbook
P. 42
บทที่ 3 การประกันภัย 23
่
3.3 ผู้รับประโยชน์ (Beneficiary) เป็นบุคคลผู้มีสิทธิจะได้รับคาสนไหมทดแทน หรือรับจำนวนเงนใช้ให ้
ิ
ิ
ตามข้อตกลงในสัญญาประกันภัยระหว่างผู้เอาประกันภัย และผู้รับประกันภัย ผู้รับประโยชน์อาจจะเป็น
3.3.1 บุคคลเดียวกับผู้เอาประกันภัย ซึ่งจะทำให้มีสิทธิเรียกร้องประโยชน์จากผู้รับประกันภัยได้ทันทีใน
ั
ฐานะคู่สัญญา เช่น นาย ก. ซึ่งเป็นเจ้าของบ้านได้เอาประกันอคคีภัยบ้านของเขาไว้กับผู้รับประกันภัยรายหนึ่ง
หากเกดไฟไหมบ้านหลังนี้ นาย ก. ก็จะเป็นผู้รับประโยชน์ตามกรมธรรม์ประกันภัย
้
ิ
ั
3.3.2 บุคคลซึ่งผู้เอาประกันภัยได้ระบุชื่อให้เป็นผู้รับประโยชน์ตามกรมธรรม์ประกนภัย เช่น นาย ข. ได้
ุ
เอาประกันภัยอบัติเหตุส่วนบุคคล โดยระบุให้ นาง จ. ซึ่งเป็นภรรยาของเขาเป็นผู้รบประโยชน์ในกรณีที่เขาประสบ
ั
อุบัติเหตุเสียชีวิต
้
อกตัวอย่างหนึ่งของผู้รับประโยชน์ที่มีการระบุชื่อไว้ เช่น กรณีที่ นาย ก. ไดจำนองบ้านของเขาไว้กับ
ี
ั
ั
ธนาคารกสิกรไทย จำกัด (มหาชน) โดย นาย ก. เป็นผู้เอาประกันภัย และเป็นผู้ชำระค่าเบี้ยประกนอคคีภัยบ้านหลัง
นี้ โดยระบให้ธนาคารกสกรไทย จำกด (มหาชน) เป็นผู้รับประโยชน์ตามภาระผูกพน เมื่อเกิดไฟไหม้บ้านหลังนี้
ุ
ิ
ั
ั
จนเสียหายสิ้นเชิง ผู้รับประกันภัยก็จะต้องจ่ายค่าสินไหมทดแทนให้แก่ผู้รับประโยชน์ตามที่ระบุไว้ คือ ธนาคาร
ั
ั
กสกรไทย จำกด (มหาชน) ตามมูลหนี้ที่ นาย ก. ยงคงค้างชำระธนาคารอยู่ หากยังมีจำนวนเงินค่าสินไหมทดแทน
ิ
เหลืออยู่อีกเท่าไร ผู้รับประกันภัยจึงจะจ่ายค่าสินไหมทดแทนส่วนที่เหลือนั้นให้แก่ นาย ก. ต่อไป
ี
้
3.3.3 บุคคลภายนอกผู้ได้รับความเสยหายจากการกระทำละเมดโดยผเอาประกนภัยมีสิทธิ์เรียกร้อง
ิ
ู
ั
ค่าสินไหมทดแทนตามสัญญาประกันภัยจากผู้รับประกันภัยของคกรณไดโดยตรงตามประมวลกฎหมายแพงและ
่
ู
่
ี
้
้
์
ั
ั
พาณิชย์มาตรา 887 เช่น นาย ส. ไดเอาประกนภัยรถยนตภาคสมครใจไว้กับบริษัทประกันภัยแห่งหนึ่ง กรณีที่รถ
ของ นาย อ. ถูกรถที่ นาย ส. ขับชนได้รับความเสียหาย นาย อ. มีสิทธิ์ที่จะเรียกร้องค่าสินไหมทดแทนทั้งค่าซ่อมรถ
และค่าขาดประโยชน์จากการใช้รถระหว่างซ่อมจากบริษัทที่รับประกันภัยรถยนต์ที่ นาย ส. ได้เอาประกันภัยไว้
4. กลไกของการประกันภัย (Insurance Mechanism)
ึ
ี
การประกนภัยเป็นระบบซงทำให้ผู้ที่ได้รบความเสยหายจากภัยบางอย่างได้รับการชดใช้สำหรับ
ั
่
ั
ความสูญเสียทางการเงินที่เป็นผลมาจากภัยนั้น
อย่างไรก็ตาม มักจะมีผู้สงสัยว่าผู้รับประกันภัยสามารถชดใช้ค่าเสียหายที่เกิดขึ้นได้อย่างไร ในเมื่อเงิน
ื่
ค่าเบี้ยประกันภัยที่เก็บจากผู้เอาประกันภัยแต่ละรายเป็นจำนวนไม่มากเมอเทียบกับจำนวนเงินที่เอาประกันภัย
์
คำตอบ คือ ผู้รับประกันภัยใช้สถติในการพยากรณว่าจะมโอกาสเกดเหตุการณ์เหลานั้นมากน้อยเพียงไร
ี
่
ิ
ิ
ถึงแม้ว่าผู้รับประกันภัยจะไม่ทราบอย่างแน่นอน แต่ก็พอจะมีวิธีการพยากรณ์ได้โดยอาศัยประสบการณ์จากการรับ
ั
ประกนภัยต่าง ๆ มาเป็นเวลานาน และที่สำคัญคือ ผู้รับประกันภัยมั่นใจว่าผู้เอาประกันภัยทุกรายจะไม่เกิดวินาศภัย
พร้อมกัน โดยมผู้เอาประกันภัยเพียงบางรายที่เกิดวินาศภัยในแต่ละปี
ี
ผู้รับประกันภัยจึงสามารถจะให้การคุ้มครองผู้เอาประกันภัยแต่ละรายโดยการรวมกลุ่มคนซึ่งเผชิญกับ
ั
ความเสี่ยงที่คล้ายคลึงกันเข้าไว้ในกลุ่มเดียวกน ทำให้ผู้รับประกันภัยคาดคะเนได้ว่า ในแต่ละปีจะมีผู้เอาประกันภัย
ประมาณกี่รายในกลุ่มนี้ที่น่าจะได้รับความสูญเสีย และโดยการรวบรวมเงินค่าเบี้ยประกันภัยจากผู้เอาประกันภัยแต่
ื
ละรายในกลุ่มนี้ จึงทำให้ผู้รับประกันภัยมีเงินทุนก้อนหนึ่งซึ่งเก็บไว้เป็นกองกลางเพอนำไปจ่ายเป็นค่าสินไหม
่
ทดแทนแก่ผู้เอาประกันภัยที่ได้รับความสูญเสียนั้น
การที่ผู้รับประกันภัยสามารถเก็บเบี้ยประกันภัยจำนวนเล็กน้อยจากผู้เอาประกันภัยแต่ละรายเมื่อเทียบกับ
จำนวนเงินที่เอาประกันภัยก็เพราะมีการรวบรวมค่าเบ้ยประกันภัยจากผู้เอาประกันภัยจำนวนมากราย ในขณะที่
ี
้
ั
ผู้เอาประกันภัยส่วนใหญ่ไม่มีวินาศภัยในระหว่างระยะเวลาทเอาประกันภัยนั้น โดยการจ่ายเบ้ยประกนภัยใหแก
่
่
ี
ี
ั
ผู้รับประกันภัยทำให้ผู้เอาประกนภัยมั่นใจได้ว่า หากเกิดวินาศภัยจากภัยที่เอาประกันภัยไว้ จะได้รับการบรรเทาด้วย
ิ
์
ิ
ลขสทธของสมาคมประกนวนาศภยไทย หามนาไปใช้ในการแสวงหากําไรทางการคา ้
ิ
้
ํ
ั
ั
ิ