Page 47 - InsuranceHandbook
P. 47

28   คู่มือประกันวินาศภัยไทย
             Thai General Insurance Handbook



                     การปฏิวัติอตสาหกรรมในช่วงต้นศตวรรษที่ 18 ทำให้เกิดความต้องการในดานการรับประกันภัยอบัติเหตุ
                                                                                                      ุ
                               ุ
                                                                                    ้
              และทำให้มีการก่อตั้งบริษัทประกันภัยใหม่ ๆ เพมขึ้น เครื่องจักรที่นำมาติดตั้งกับโรงงานใหม่ ๆ และหัวรถจักร
                                                       ิ่
                                                                                           ั
                                                                      ิ่
              สมัยใหม่ ทำให้เกิดความเสียหายแก่ทรัพย์สิน และชีวิตของบุคคลเพมขึ้นอย่างมาก การประกนภัยนอกจากจะช่วย
                                   ้
                                                                                                      ุ
              คุ้มครองความเสียหายดานการเงินที่เกิดขึ้นแล้ว ยังมีบทบาทสำคัญในการส่งเสริมให้มีการประดิษฐ์อปกรณ์
              ด้านความปลอดภัย และมส่วนช่วยในการกำหนดกฎระเบียบในการรักษาความปลอดภัยด้านต่าง ๆ ด้วย
                                   ี
                                                                              ้
                                                        ็
                                                                                 ั
                     ก่อนปี ค.ศ. 1880 เมื่อลูกจ้างได้รับบาดเจบในขณะปฏิบัติงาน นายจางมกมีข้อต่อสู้ทางกฎหมายทำให้พ้น
              ผิดไม่ต้องรับผิดชอบต่อลูกจ้าง แต่เมื่อมีการประกาศใช้พระราชบัญญัติความรับผิดของนายจ้างในปี ค.ศ. 1880
                                                                           ็
              (Employer’s Liability Act 1880) บรรดาข้อต่อสู้ทางกฎหมายเหล่านั้นกถูกลบล้างไปโดยกฎหมายฉบับนี้ ส่งผลให้
                       ้
              เกิดความตองการเอาประกันภัย “ความรับผิดของนายจ้าง” ขึ้น และในช่วงปลายศตวรรษที่ 19 ลูกจ้างก็ยิ่งได้รับ
              การคุ้มครองเพิ่มขึ้นเมื่อมีการประกาศใช้พระราชบัญญัติเงินทดแทนแรงงาน (Workers’ Compensation Act)
              8. ลักษณะสำคัญของความเสี่ยงที่ปกติสามารถจะเอาประกันภัยได้

                                                                                         ี
                     ผู้รับประกันภัยโดยทั่วไปจะรับประกันภัยความเสี่ยงแท้จริง (Pure Risk) ได้เพยงบางประเภทเท่านั้น
              จึงต้องมีข้อกำหนดเกี่ยวกับลักษณะสำคัญของความเสี่ยงที่ปกติสามารถจะเอาประกันภัยได้ ไว้ดังนี้
                     1. ต้องมีหน่วยของความเสี่ยงที่คล้ายคลึงกันเป็นจำนวนมาก (There must be a large number of

              homogeneous exposure units)
                     วัตถุประสงค์ของข้อกำหนดนี้ก็เพอช่วยให้ผู้รับประกันภัยสามารถพยากรณ์ความเสียหายที่คาดว่าจะเกิดขึ้น
                                                ื่
                                                                                                        ั
              โดยอาศัยกฎว่าด้วยจำนวนมาก (Law of Large Numbers) ถ้าหากมีหน่วยความเสี่ยงที่มีลักษณะคล้ายคลึงกนเป็น
                                                         ็
                                                                                              ่
                                                                                          ึ้
              จำนวนมาก และอยู่ในกลุ่มเดียวกัน ผู้รับประกันภัยกสามารถคำนวณความเสียหายที่จะเกิดขนได้คอนข้างแม่นยำทั้ง
                                      ุ
                                                 ่
                                                 ี
              ในแง่ของความถี่ และความรนแรงโดยเฉลยของความสูญเสีย (Average Frequency and Average Severity of
              Loss)
                     จากข้อกำหนดนี้ จะเห็นได้ว่าผู้รับประกันภัยต้องจัดสิ่งที่จะรับประกันภัยไว้เป็นกลุ่ม ๆ เช่น การรับประกัน
                                 ึ
                                 ่
              อัคคีภัยบ้านอยู่อาศัยซงแบงออกเป็น บ้านไม้ทั้งหมด บ้านครึ่งตึกครึ่งไม้ และบ้านที่สร้างด้วยคอนกรีตทั้งหมด
                                     ่
                                        ุ
              เป็นต้น หรือในการประกันภัยอบัติเหตุส่วนบุคคลที่จัดแบ่งกลุ่มของผู้เอาประกันภัยตามลักษณะอาชีพ และหน้าที่
              การงาน ซงมีความเสี่ยงต่างกัน เช่น กลุ่มอาชีพที่ทำงานอยู่ในสำนักงานซึ่งมีความเสี่ยงต่ำ กลุ่มอาชีพที่ทำงาน
                       ึ
                       ่
              เกี่ยวกับเครื่องจักรกลต่าง ๆ ซึ่งมีความเสี่ยงสูง เป็นต้น
                                                   ุ
                                                                                                        ั
                                                                    ิ
                     2. ความเสียหายที่เกิดขึ้น ต้องเป็นอบัติเหตุ และไม่ได้เกดจากการกระทำโดยเจตนาของผู้เอาประกนภัย
              (The loss must be accidental and unintentional from the viewpoint of the Insured)
                     โดยทั่วไป ผู้รับประกันภัยจะชดใช้ความเสียหายที่เกิดขึ้นโดยอุบัติเหตุซึ่งไม่อาจคาดคะเน หรือทราบมาก่อน
                                                                                         ี
                                                                                               ็
              ได้ และต้องไม่ใช่ความเสียหายที่เกดจากการกระทำโดยเจตนาของผเอาประกันภัย หรือมส่วนรู้เหนในการทำลาย
                                                                       ้
                                           ิ
                                                                       ู
              ทรัพย์สิน หรือสิ่งที่เอาประกันภัยไว้
                                   ั
                     ถ้าหากผู้รับประกนภัยยอมชดใช้ค่าเสียหายที่เกิดจากการกระทำโดยเจตนาของผู้เอาประกนภัยแล้ว อาจจะ
                                                                                              ั
                                                                                              ั
                                                                              ั
                                                                                                  ิ
              ก่อให้เกิดภาวะภัยทางศีลธรรม (Moral Hazard) เพมขึ้น โดยผู้เอาประกนภัยจะทำลายทรพย์สน หรือสิ่งที่
                                                           ิ่
              เอาประกันภัยนั้น เพือหวังเอาเงินค่าสินไหมทดแทนจากผู้รับประกันภัย เช่น โกดังของ นาย ก. ซึ่งเก็บสินค้า
                                ่
                                    ็
              เฟอร์นิเจอร์พลาสติกเปนจำนวนมากตั้งอยู่ติดกับโกดังเก็บเครื่องใช้ไฟฟ้าของ นาย ข. ต่างฝ่ายต่าง
              เอาประกันอัคคีภัยไว้กับบริษัทประกันภัยคนละบริษัท ต่อมากิจการค้าของ นาย ข. ประสบกับการขาดทุนอย่างหนัก
              เพราะเครื่องใช้ไฟฟ้าที่มีอยู่เป็นจำนวนมากในโกดังนั้นล้าสมัย และจำหน่ายไม่ค่อยได้ นาย ข. จึงตัดสินใจจ้างคนมา
                                                                              ิ
                            ั
                     ิ
              วางเพลงเผาโกดง และ สต๊อกเครื่องใช้ไฟฟ้าเหล่านั้น เพอหวังเอาเงินคาสนไหมทดแทนจากบริษัทประกันภัย
                                                                           ่
                                                               ื
                                                               ่
              ปรากฏว่าไฟได้ไหม้โกดัง และ สต๊อกเครื่องใช้ไฟฟ้าของ นาย ข. จนหมดสิ้น และไฟนั้นยังลามไปยังโกดังของ
              นาย ก. จนเสียหายอย่างหนักเช่นเดียวกัน โดยที่ นาย ก. ไม่ได้รู้เห็นเป็นใจกับการกระทำที่ไม่สุจริตของ นาย ข. มา
                                       ิ
                                       ์
                                      ิ
                                   ลขสทธของสมาคมประกนวนาศภยไทย หามนาไปใช้ในการแสวงหากําไรทางการคา ้
                                    ิ
                                                             ้
                                                               ํ
                                                        ั
                                                  ั
                                                    ิ
   42   43   44   45   46   47   48   49   50   51   52