Page 45 - InsuranceHandbook
P. 45
26 คู่มือประกันวินาศภัยไทย
Thai General Insurance Handbook
่
ในประเทศจีน ประมาณ 3,000 ปีก่อนคริสตกาล พอค้าชาวจีนได้พัฒนาวิธีการประกันภัยขึ้นสำหรับ
ี
ี
ั
การขนส่งสินค้าตามแม่น้ำแยงซ ซึ่งมีสายน้ำที่เชี่ยวกราก และเรือบรรทุกสินค้ามักอบปางอยู่เสมอ เนื่องจากมหินใต้
่
ั
น้ำและเกาะแก่งที่คดเคี้ยวซึ่งเป็นอนตรายต่อการเดินเรือ มีปรากฏอยู่เสมอว่าพอคาบางคนต้องสิ้นเนื้อประดาตว
ั
้
้
เพราะสินค้าไดรับความเสียหายหมด ดังนั้น ด้วยความกลัวพ่อค้าเหล่านั้นจึงหาวิธีกระจายความเสี่ยงภัยออกไป โดย
ุ
้
ิ
นำสนคาของตนบรรทกไว้ในเรือลำอนหลายลำ เฉลยกันไปจนครบจำนวนหีบห่อสินค้า ซึ่งถ้าเรือลำหนึ่งลำใดจมลง
ี
่
ื
่
่
ก็หมายความว่าสินค้าของพอค้าแต่ละคนสูญเสียเพียงคนละ 1 ส่วนเท่านั้น ซงวิธีการเช่นนี้เป็นที่มาของ
่
ึ
การประกันภัยในปัจจุบัน
ราวก่อนศตวรรษที่ 13 และ 14 ปรากฏว่ามีการประกันภัยทางทะเลกันอย่างแพร่หลายตามเมืองต่าง ๆ ใน
ทะเลเมดิเตอร์เรเนียน สัญญาประกันภัยการขนส่งสินค้าทางทะเลฉบับแรกของโลกเท่าที่มีปรากฏเป็นหลักฐานจนถึง
ปัจจุบันนี้ คือ ฉบับลงวันที่ 23 ตุลาคม ค.ศ. 1347 ออกให้ ณ เมืองเจนัว ประเทศอิตาลี
่
ส่วนสัญญาประกันภัยฉบับแรกขององกฤษ เทาทปรากฏตามหลกฐานซงยังคงเกบรักษาไว้ถงปัจจุบัน คอ
ี
่
ั
ึ
ั
่
ื
็
ึ
“Broke Sea Insurance Policy” ปี ค.ศ. 1547 วิธีทำประกันภัยในสมัยนั้น คือ เจ้าของเรือ หรือพ่อค้าที่ต้องการ
ซื้อประกันภัย จะทำบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินต่าง ๆ ที่จะบรรทุกลงเรือใต้รายการเหล่านี้ นายธนาคาร หรือ
บุคคลอื่น ๆ ที่ประสงค์จะรับประกันภัยจะลงชื่อพร้อมกับระบุจำนวนเงินที่ตนจะรับเสี่ยงแล้วลงลายมอชือไว้ (และนี่
ื
่
้
ื่
ิ
่
้
คือที่มาของคำว่า Underwriter) และเพอเป็นคาตอบแทนในการเขารับเสี่ยงภัย ผู้ลงนามขางใต้ หรือผู้พจารณา
การรับประกันภัย (Underwriter) แต่ละคนจะได้รับค่าตอบแทนเรียกว่าเบี้ยประกันภัย (Premium)
ในช่วงเวลานั้น สัญญาประกันภัยส่วนมากเป็นสัญญาประกันภัยทางทะเล ต่อมาก็ขยายออกไปคุ้มครองถึง
ั
การเสียชีวิตของนายเรือ และลูกเรือรวมทั้งพ่อค้าที่คุมสินค้าไปกบเรือ ตลอดจนคุ้มครองจำนวนเงินที่จะเป็นค่าไถ่ตัว
เมื่อถูกโจรสลัดจับตัวด้วย
ิ
กรมธรรมประกนชีวิตฉบับแรกที่มีการบันทึกไว้ได้ทำขึ้นเมื่อวันที่ 18 มถุนายน ค.ศ. 1583 (พ.ศ. 2126) ที่
ั
์
ี
ื่
ประเทศองกฤษ โดยมี Mr. Richard Martin ซึ่งปกติเป็นผู้รับประกันภัยทางทะเลได้ร่วมกับเพอน ๆ ตัวแทนอก
ั
่
15 คน ดำเนินการรับประกันชีวิต Mr. William Gibbons พอค้าเกลือ โดยมีเงี่อนไขให้ Mr. Gibbons จ่ายเงิน
ค่าเบี้ยประกันชีวิตให้แกผู้รับประกนภัยในอัตรา 8% และถ้า Mr. Gibbons ถึงแก่กรรมภายในระยะเวลา 12 เดือน
่
ั
ั
ผู้รับประกันภัยจะจ่ายคืนเงินเอาประกนภัยจำนวน 383 ปอนด์ 6 ชิลลิง 8 เพนนี ปรากฏว่า Mr. Gibbons
ถึงแก่กรรมในวันที่ 29 พฤษภาคม ค.ศ. 1584 (พ.ศ. 2127) ซึ่งเท่ากับ 345 วันนับจากวันที่เริ่มต้นของสัญญานี้
แต่กลุ่มผู้รับประกันภัยไม่ยอมจ่ายเงินเอาประกนภัยตามสญญา โดยอ้างว่าตามหลักกฎหมายระยะเวลาความ
ั
ั
่
คุ้มครองจะเท่ากับ 336 วัน (12 เดือน คูณ 28 วัน โดยถือเอาเดือนที่สั้นที่สุดซงม 28 วัน) ไม่ใช่ 365 วันตาม
ี
ึ
์
ปีปฏิทิน จึงถอว่า Mr. Gibbons ได้เสียชีวิตภายหลังจากที่กรมธรรมประกันชีวิตฉบับนี้ได้สิ้นสุดการคุ้มครองไปแล้ว
ื
แต่เมื่อศาลพจารณาแล้ว ตัดสินให้ผู้รับประกันภัยต้องจ่ายเงินเอาประกันภัยใหแกทายาทของ Mr. Gibbons
่
ิ
้
่
ึ
การประกันชีวิตในระยะสั้นเช่นนี้นิยมทำกันมาประมาณหนงศตวรรษในรูปแบบของการช่วยเหลือสงเคราะห์กันใน
สมาคม คือ สมาชิกแต่ละคนสละเงินจำนวนหนึ่งให้กับสมาชิกในกลุ่มที่เสียชีวิต ซึ่งคล้ายกับการฌาปนกิจสงเคราะห์
ในปัจจุบัน
การประกันชีวิตได้พฒนาระบบ และวิธีการมากยิ่งขึ้น ในปี ค.ศ. 1705 มีการก่อตั้งสมาคมเพื่อประโยชน์ใน
ั
การประกันชีวิตร่วมกัน (Mutual Associations) และในปี ค.ศ. 1757 มระบบการจ่ายเงินขั้นต่ำที่สมาคมจะจ่ายให้
ี
้
ี
สมาชิกที่ถึงแก่กรรม ซึ่งปรากฏว่าระบบน้ไดรับความนิยมจากสมาชิกเปนอยางมาก เมื่อมีเงื่อนไขในการจ่ายเงินที่
็
่
แน่นอนให้กับการมรณะของสมาชิกแล้ว งานสำคัญที่เกิดขึ้น คือ คณิตศาสตร์ประกนภัย โดยนำหลักวิชาคำนวณมา
ั
ใช้กับตารางมรณะของสมาชิก นักคณิตศาสตร์ที่ทุ่มเทเสียสละให้กับงานชิ้นนี้คนหนึ่ง คือ Mr. Edmund Halley
ซึ่งเป็นนักดาราศาสตร์ที่มีชื่อเสียงจากการคนพบดาวหาง Halley ได้ร่วมกับ Mr. James Dodson จัดทำสถิติการ
้
ั
ั
เสียชีวิตของคนอายุต่าง ๆ กน เพื่อคำนวณอัตราเบี้ยประกนภัยสำหรับการประกันชีวิตในแบบต่าง ๆ ได้สำเร็จ โดยมี
ิ
์
ิ
ลขสทธของสมาคมประกนวนาศภยไทย หามนาไปใช้ในการแสวงหากําไรทางการคา ้
ิ
้
ํ
ั
ั
ิ