Page 54 - InsuranceHandbook
P. 54

บทที่ 3 การประกันภัย  35





                                           ู
                                           ้
                                                        ้
                                                  ั
                                      ั
 ั
                                                                                                         ่
                                                               ิ
 เอาประกันภัยตามชนิดและจำนวนที่กำหนดไว้ ซึ่งทำให้ผู้เอาประกนภัยจ่ายเบี้ยประกันภัยน้อยลง และช่วยบรรเทา  ดังนั้น ในการประกนภัยผรับประกนภัยตองมีสถิตมากพอสมควร จึงจะคำนวณ หรือคาดคะเนได้แมนยำ
 ความเสียหายที่อาจจะเกิดขึ้นให้น้อยลงด้วย   มากขึ้น เช่น ในการโยนเหรียญ ผลลัพธ์นั้นเป็นไปได้ 2 ทาง คือ ออกหัวหรือออกก้อย ซึ่งมีโอกาสออกได้เท่า ๆ กัน
 ื
                        ี
 8. เป็นตลาดจ้างงาน การประกันภัยมความสำคัญไม่ยิ่งหย่อนไปกว่าธุรกจอน ๆ ในบางประเทศ เช่น  หรือกล่าวอกอย่างหนึ่งได้ว่า ความน่าจะเป็นของการออกหัวเท่ากับ 0.5 และความน่าจะเป็นของการออกก้อยก ็
 ่
 ี
 ิ
                                                                                       ้
 อังกฤษ สหรัฐอเมริกา และญี่ปุ่น ธุรกิจประกันภัยมีขนาดพอ ๆ หรือใหญ่กว่าธนาคารพาณิชย์ ทำให้เกิดการจ้างงาน  เท่ากบ 0.5 การโยนเหรียญเพยง 2 ครั้ง อาจเป็นไปได้ว่าเหรียญจะไม่ออกหัวแต่จะออกกอยทั้งสองครั้ง หรือออกหัว
                  ั
                                       ี
 บุคลากรที่เกี่ยวข้องกบธุรกิจประกันภัยเป็นจำนวนมากด้วย    ทั้งสองครั้ง แต่ถ้าเราโยนเหรียญ 10 ครั้ง โอกาสที่เหรียญจะออกใกล้เคียงกับค่าความน่าจะเป็นที่ 0.5 คือ ออกหัว
 ั
              และก้อยอย่างละ 5 ครั้ง ย่อมมีมากขึ้น ถ้าเราโยนเหรียญ 10,000 ครั้ง โอกาสที่จะออกหัว หรือก้อยเท่ากับ หรือ
 12. ทฤษฎีพื้นฐานที่เกี่ยวข้องกับการประกันภัย  ใกล้เคียงกับค่า 0.5 ย่อมมีมากขึ้นเรื่อย ๆ ตามจำนวนครั้งที่โยนมากขึ้น
                                                                                ี
                                                                                        ิ
                     สมมุติว่า ในการรับประกันอคคีภัย ถ้ามีบ้านอยู่ 10,000 หลัง โดยมจำนวนเงนเอาประกันภัยหลังละ
                                              ั
 ่
      ทฤษฎีพื้นฐานที่เกี่ยวข้องกับการประกันภัยซงมีความสำคัญต่อผู้รับประกันภัยในการพิจารณารับประกันภัย   100,000 บาท จากการเก็บสถิติความเสียหายจากไฟไหม้เป็นระยะเวลานานหลายปีจนทราบว่า โดยเฉลี่ยแล้วแต่ละ
 ึ
 ี
 และการกำหนดอัตราเบี้ยประกันภัยเป็นอย่างมาก มอยู่ 3 ทฤษฎีด้วยกัน คือ    ปีจะเกิดเพลิงไหม้ 60 ครั้งจากบ้าน 10,000 หลังนี้ ฉะนั้น โอกาสที่บ้านแต่ละหลังจะเกิดไฟไหม้ในแต่ละปีจะเท่ากับ
      12.1 ทฤษฎีความน่าจะเป็น (Probability Theory)   60 หารด้วย 10,000 หรือ 0.006 แต่เนื่องจากการเกิดเพลิงไหม้แต่ละครั้งย่อมทำความเสียหายในขอบเขตไมเท่ากัน
                                                                                                       ่
      12.2 กฎของการถัวเฉลี่ย (Law of Averages)    การเก็บสถิติความเสียหายจึงต้องคิดเป็นจำนวนเงินพร้อมทั้งหามูลค่าของบ้านทั้ง 10,000 หลังนี้ด้วย จึงจะสามารถ
  12.3 กฎว่าด้วยจำนวนมาก (Law of Large Numbers)
              หาค่าทางคณิตศาสตร์ที่ถูกต้องยิ่งขึ้น ถ้าหากความเสียหายตามสถิติที่เก็บเฉลี่ย 60 ครั้ง/ปี โดยมีค่าเสียหายเฉลี่ย
              60,000 บาท/ครั้ง คิดเป็นค่าเสียหายปีละ 3.6 ล้านบาท ดังนั้น ผู้รับประกันภัยก็จะสามารถคำนวณความน่าจะเป็น
 12.1 ทฤษฎีความน่าจะเป็น (Probability Theory)   ที่จะเกิดความเสียหายกับบ้านแต่ละหลังอย่างถูกต้องตรงตามหลักสถิติ คือ 3.6 ล้านบาทต่อ 1,000 ล้านบาท
            ในทางคณิตศาสตร์ ความน่าจะเป็นจะมีตัวเลขอยู่ระหว่างศูนย์ (0) กบหนึ่ง (1) เพื่อกำหนดให้กับเหตุการณ ์  (ได้จากบ้าน 10,000 หลัง x มลค่าหลังละ 100,000 บาท) หรือเท่ากับ 0.0036
 ั
                                       ู
 ็
 ใดเหตุการณ์หนึ่ง ความน่าจะเป็นที่เท่ากับ 0 กคือไม่มีโอกาสที่เหตุการณ์นั้นจะเกิดขึ้น แต่ถ้าความน่าจะเป็นเท่ากับ   ตามกฎว่าด้วยจำนวนมากนั้น การที่ผลลัพธ์จะออกมาอย่างแม่นยำ ใกล้เคียงกับค่า 0.0036 ที่คาดคะเนไว้
 1 แสดงว่าเหตุการณ์นั้นเกิดขึ้นอย่างแน่นอน   นั้น จะต้องมีบ้านที่เอาประกันอคคีภัยอย่างน้อย 10,000 หลัง แต่ถ้าจำนวนบ้านที่เอาประกันอัคคภัยเพมขึ้นเป็น
                                                                                                     ิ่
                                                                                                ี
                                         ั
    ในทางปฏิบัติ ผู้รับประกันภัยจะนำทฤษฎีความน่าจะเป็นมาใช้ในการกำหนดเบี้ยประกันภัยโดยประมาณ  100,000 หลัง โอกาสที่ความเสียหายจริงจะใกล้เคียงกับความเปนไปไดตามคา 0.0036 ก็แม่นยำมากขึ้น ในทาง
                                                                               ่
                                                                          ้
                                                                     ็
 ี
 ั
 ิ
 การความเสียหายทั้งหมดต่อปี จำนวนครงของการเกดความเสียหายจากภัยต่อปี และจำนวนเงินความเสยหายต่อ  กลับกัน ถ้าเราลดจำนวนบานที่เอาประกันอคคีภัยลงเหลือ 1,000 หลัง โอกาสที่ความเสียหายจริงจะคลาดเคลื่อน
 ้
                                    ้
                                                   ั
 ่
 เหตุการณ ซงผลลัพธ์จากการประมาณการดังกล่าวถือเป็นการประมาณความสูญเสียที่จะเกิดขึ้นต่อผู้รับประกันภัย   จากค่า 0.0036 กจะมีได้มากเหมือนกับกรณีการโยนเหรียญเพยงไม่กี่ครั้ง ซงโอกาสที่จะออกหัว และออกก้อยอย่าง
 ์
 ึ
                                                                            ่
                             ็
                                                                 ี
                                                                            ึ
 ่
 ค่าของความนาจะเปนจะอยู่ระหว่าง 0 ถึง 1 เสมอ ตวอยาง สมมุติว่ามีรถยนต์ที่เอาประกันภัยอยู่ 1,000   ละเท่า ๆ กัน จะขึ้นกับจำนวนครั้งที่โยน ผลลัพธ์ที่ได้จากการคำนวณอาจจะไม่เป็นไปตามที่คาดคะเน หรือคำนวณ
 ั
 ็
 ่
 ี
 ี
 คัน และคาดว่ามรถยนต์ 8 คันเสียหายโดยสิ้นเชิง เพราะฉะนั้น ค่าความน่าจะเป็นของการเสยหายโดยสิ้นเชิงของ  ไว้เสมอไป ทั้งนี้ อาจเนื่องมาจากปัจจัยบางประการทคาดไมถึง เช่น ข้อมลทใช้ในการคำนวณคลาดเคลื่อนหรือไม่
                                                                ่
                                                           ่
                                                                              ี
                                                                           ู
                                                           ี
                                                                              ่
 รถยนต์ที่เอาประกันภัยนี้เท่ากบ 0.008 หรือ 0.8% เมื่อเชื่อมโยงเรื่องนี้เข้ากับการกำหนดอัตราเบี้ยประกันภัย ถ้าค่า  ครบถ้วน เป็นต้น
 ั
 ความน่าจะเป็นสูงเท่าใด อัตราเบี้ยประกันภัยจะต้องเพียงพอสำหรับค่าความน่าจะเป็นของการเสียหายนั้น
              13. การกำหนดเบี้ยประกันภัย
 12.2 กฎของการถัวเฉลี่ย (Law of Averages)
                       ในการกำหนดเบี้ยประกันภัยที่จะเรียกเก็บจากผู้เอาประกันภัย ผู้รับประกันภัยต้องคำนึงถึงหลักการพื้นฐาน
 กฎของการถัวเฉลี่ยเป็นการเฉลี่ยความเสี่ยงภัยร่วมกัน ดังนั้น กฎของการถัวเฉลี่ยจึงเป็นหลักสำคัญของ
              ต่อไปนี้
 การประกันภัย ถ้ามีภัยเกิดขึ้นและมีความสูญเสียจำนวนเท่าใดให้เฉลี่ยกันไประหว่างผู้เอาประกนภัย ซึ่งค่าความ  1. มความพอเพยง (Adequate) เพื่อที่จะสามารถนำมาชดใช้ค่าสินไหมทดแทนที่จะเกิดขึ้นในอนาคต และ
 ั
                         ี
                                  ี
 สูญเสียที่เฉลี่ยนี้แสดงออกในรูปของเบี้ยประกันภัย    เพียงพอสำหรับค่าใช้จ่ายในการขาย ค่าใช้จ่ายในการดำเนินงาน โดยมีผลกำไรพอสมควร
                                                                                   ี
                                                                      ั
                                                              ู
 ้
 ็
 หากมีผู้เอาประกันภัยจำนวนน้อยราย การประกันภัยกจะดำเนินไปไดยาก ส่งผลให้เบี้ยประกันภัยต่อรายม ี  2. มีความยุติธรรม (Equitable) หมายความว่า ผ้เอาประกนภัยต้องเสียเบ้ยประกันภัยตามความเสี่ยงของ
                                                                                                 ี
 ี
 จำนวนเงินสูง แต่หากมีผู้เอาประกันภัยเป็นจำนวนมากราย จะส่งผลให้เบี้ยประกันภัยต่อรายมจำนวนเงินที่ต่ำลง   ตน ผู้ที่มีความเสี่ยงมากย่อมต้องเสียเบี้ยประกันภัยมากกว่าผู้ที่มีความเสี่ยงน้อยกว่า หรือเรียกอกอย่างหนึ่งว่า
              Fairly Discriminatory
                                     ุ
                     3. มีความสมเหตสมผล (Reasonable) ผู้รับประกันภัยไม่ควรแสวงหากำไรจากการกำหนดอัตรา
 12.3 กฎว่าด้วยจำนวนมาก (Law of Large Numbers)   เบี้ยประกันภัยมากจนเกินไปเมื่อเทียบกับสภาพความเสี่ยง (Not Excessive) และจำเป็นต้องคำนึงถึงความสามารถ
 ้
       กฎว่าด้วยจำนวนมากหรือกฎว่าด้วยความเป็นไปได้เป็นพืนฐานของการประกันภัย กล่าวคือ ถ้าจำนวนวัตถุ  ในการขายดวยว่า ถ้าอัตราเบี้ยประกันภัยสูงเกินไปจะมผู้มาเอาประกันภัยกับบริษัทหรือไม่โดยเฉพาะในสภาวะการ
                                                            ี
                        ้
 หรือเหตุที่เอาประกนภัยไว้มจำนวนมากเท่าใด ความเป็นไปได้ที่จะเกิดเหตุการณ์ใดเหตุการณ์หนึ่งจะใกล้เคียงกับ  แข่งขันที่รุนแรง
 ั
 ี
 ้
 ี
 ์
 เหตุการณ์ที่เกิดจริงมากขึ้นเท่านั้น ซึ่งเป็นประโยชนในการกำหนดอัตราเบยประกนภัยแต่ละประเภทของ
 ั
 ั
 ผู้รับประกนภัย
                                                    ิ
                                       ์
                                                             ้
                                                        ั
                                       ิ
                                    ิ
                                   ลขสทธของสมาคมประกนวนาศภยไทย หามนาไปใช้ในการแสวงหากําไรทางการคา ้
                                                               ํ
                                      ิ
                                                  ั
   49   50   51   52   53   54   55   56   57   58   59