Page 68 - InsuranceHandbook
P. 68
บทที่ 5 หลักส�าคัญของสัญญาประกันภัย 49
เอาประกันภัย หรือสถานที่ที่ระบุเอาประกันภัยในตารางกรมธรรม์ยังคงใช้เพอการอยู่อาศัยต่อไป ทั้งนี้ บริษัทจะคืน 1.5 วัตถุประสงค์ของการกำหนดให้มีสิทธิส่วนได้เสีย
ื่
้
ี
ั
ั
เบี้ยประกันภัยตามตารางอัตราเบ้ยประกนภัยระยะสน” นอกจากนั้น ท้ายเงื่อนไขข้อ 6.13 ยังระบุว่า “เงื่อนไขข้อ หลักส่วนได้เสียในเหตุประกันภัยเป็นหลักสำคัญพนฐานของการประกันภัย หลักข้อนี้เป็นแนวความคดทาง
ื้
ิ
6.13 นี้ จะไม่นำมาบังคับใช้ หากผู้เอาประกันภัยได้แจ้งให้บริษัททราบและตกลงยินยอมรับประกันภัยต่อไป โดยได ้ กฎหมาย ซึ่งมีวัตถุประสงค์ 3 ประการคือ
ออกใบสลักหลังกรมธรรม์ไว้เป็นหลักฐานแล้ว” 1. เพอป้องกันมิให้สัญญาประกนภัยเป็นสญญาการพนันเพราะการที่บุคคลใดเอาประกันภัยในสิ่งที่เขาไม่มี
ั
ั
ื่
่
ื
จากตัวอย่างข้างต้นหาก นาย ข. ต้องการจะใช้บ้านที่ซื้อมาจาก นาย ก. เพอการอยู่อาศัย และ นาย ก. ความเกี่ยวข้องย่อมไม่ได้รับความเสียหายเมื่อสิ่งนั้นถูกทำลายหรือเสียหาย ฉะนั้น การที่เขาได้รับค่าสินไหมทดแทน
ต้องการให้ นาย ข. ซึ่งจะเป็นเจ้าของใหม่ในบ้านหลังนี้ ได้รับความคุ้มครองตามกรมธรรม์ประกันอคคีภัยสำหรับที่ เมื่อเกิดความเสียหายนั้นย่อมเป็นการไม่ถูกต้องเพราะเท่ากับอนุญาตให้มีการพนันในรูปของสัญญาประกันภัย เช่น
ั
อยู่อาศัยที่เขาได้ทำไว้ต่อไป นาย ก. ในฐานะผู้เอาประกันภัยจะต้องแจ้งบริษัท ซอสัตย์ประกันภัย จำกด (มหาชน) การเอาประกันชีวิตบุคคลอื่นซึ่งป่วยด้วยโรคมะเร็งในระยะสุดท้าย
ื
ั
่
่
ี
ในฐานะผู้รับประกันภัยทราบก่อนที่จะไปทำการจดทะเบยนโอนกรรมสิทธิ์บ้านและที่ดินนี้ให้แก่ นาย ข. เพือ 2. เพือลดภาวะภัยทางศลธรรม โดยการป้องกันวัตถุที่เอาประกนภัย (Subject Matter of Insurance)
ั
ี
่
ดำเนินการออกใบสลักหลังกรมธรรม์ประกันภัย เป็นหลักฐานบันทึกการเปลี่ยนชื่อผู้เอาประกันภัยจาก นาย ก. เป็น ไม่ให้เกิดความเสียหายโดยจงใจหรือเจตนาของผู้เอาประกันภัย ถ้าผู้เอาประกันภัยไม่มีกรรมสิทธิ์ หรือประโยชนอน
ั
์
นาย ข. โดยให้มีผลบังคับตั้งแต่วันที่จดทะเบียนโอนกรรมสิทธิ์เป็นต้นไป ใดในทรัพย์สินที่เอาประกันภัยแล้ว เขาจะไม่ได้รับความเสียหายหากเกิดวินาศภัยกับทรัพย์สินน้น เช่น การไปเอา
ั
ื่
่
ั
ั
ุ
้
ื่
์
ั
ิ
ั
ตัวอย่างที่ 2 นาย ช. ไดขายรถยนตทเอาประกนภัยรถยนต์ภาคสมครใจประเภท 1 รวมการค้มครอง ประกนอคคีภัยบ้านของคนอน ในไม่ช้าอาจจะลอบวางเพลิงบ้านหลังนั้นเพอหวังเอาเงินค่าสนไหมทดแทนจาก
ี
ั
ั
ั
่
้
ู
ั
ผประสบภัยจากรถใหแก่ นาย ส. ซึ่งต้องการซื้อรถยนต์คันนี้ ไปใช้รับสงครอบครวของเขา เมื่อ นาย ช. ได้จด ผู้รบประกนภัย ในทางตรงกนข้าม ถ้าเขามีสิทธิ์หรือประโยชน์ในทรัพย์สินที่เอาประกันภัยแล้ว เขาจะหวงแหนและ
้
์
ทะเบียนโอนกรรมสิทธิ์รถยนต์คันนี้ให้ นาย ส. แล้ว ถือว่าสิทธิส่วนได้เสียของ นาย ช. ในรถยนตคันนี้สิ้นสุดลง ณ เสียดายไม่ยินยอมให้เกิดความเสียหายกับทรัพย์สินนั้น
วัน เวลา ที่มีการจดทะเบียนโอนกรรมสิทธิ์ ส่วน นาย ส. จะมีสิทธิส่วนได้เสียในรถยนต์คันนี้ตั้งแต่วัน เวลาที่ นาย ส. 3. เพอให้สอดคล้องกับหลักการชดใช้ค่าสนไหมทดแทน (Principle of Indemnity) ในการประเมิน
ื่
ิ
ได้มีการจดทะเบียนรับโอนกรรมสิทธิ์มาจาก นาย ช. ค่าเสยหาย หลักส่วนได้เสียในเหตุที่เอาประกันภัยจะช่วยผู้รับประกันภัยประเมินมูลค่าความเสียหายที่
ี
ั่
อย่างไรก็ตาม กรมธรรม์ประกันภัยรถยนต์ รวมการคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ ระบุในหมวดเงื่อนไขทวไป ผู้เอาประกันภัยมี ณ เวลาที่เกิดวินาศภัย เช่น การพจารณาชดใช้ค่าสินไหมทดแทนของการประกนอคคภัยสำหรบ
ี
ั
ิ
ั
ั
ื่
ข้อ 9 การโอนรถยนตไว้ดังนี้ “เมื่อผู้เอาประกันภัยได้โอนรถให้แก่ผู้อน ให้ถือว่าผู้รับโอนเป็นผู้เอาประกนภัย บ้านหลังหนึ่งซึ่งถูกเพลิงไหม้เสียหายหมดทั้งหลังซึ่งลูกหนี้ได้จำนองบ้านหลังนี้ไว้กับธนาคาร ผู้รับประกันภัยต้อง
ั
์
์
ตามกรมธรรมประกันภัยนี้ และบริษัทต้องรับผิดตามกรมธรรม์ประกันภัยต่อไปตลอดอายุกรมธรรม์ประกันภัยที่ ประเมินค่าเสียหายของลูกหนี้ในฐานะผู้จำนองและธนาคารในฐานะผู้รับจำนองตามยอดมูลหนี้ที่ผู้จำนองยังคงค้าง
เหลืออยู่ อย่างไรก็ตาม ในกรณีที่ทำประกันภัยประเภทระบุชื่อผู้ขับขี่ ผู้เอาประกันภัยจะต้องแจ้งการเปลยนแปลง ชำระต่อผู้รับจำนอง ณ วันที่เกิดไฟไหม้บ้านหลังนี้
ี
่
ผู้ขับขี่ให้บริษัททราบเพื่อจะได้มีการปรับปรุงอัตราเบี้ยประกันภัยตามสภาพความเสี่ยงภัยที่เปลี่ยนแปลงไป มิฉะนั้น
ผู้เอาประกันภัยอาจจะต้องรบผดชอบในความเสียหายสวนแรกเองตามเงื่อนไขความคุ้มครองที่ปรากฎใน 2. หลักความสุจริตอย่างยิ่ง (Principle of Utmost Good Faith)
ิ
่
ั
กรมธรรม์ประกนภัยนี้ การประกันภัยเป็นธุรกิจที่แตกต่างจากธุรกจอน เพราะเปนการขายความเชือม่นและความศรทธาของ
ั
่
ั
ั
็
ื
่
ิ
สำหรับกรมธรรม์ประกันภัยรถยนต์ที่มีความคุ้มครองความเสียหายต่อรถยนต์ และผู้เอาประกันภัยได้ขาย ประชาชน เป็นผลิตภัณฑ์ที่ไม่มีตัวตน เป็นการที่ผู้เอาประกันภัยซื้อบริการจากผู้รับประกันภัย ผู้เอาประกันภัยจะ
ั
รถยนต์ให้แก่ผู้มีอาชีพรับซื้อขายรถยนต์ หรอให้เช่ารถยนต์ หรือซ่อมแซมรถยนต หรือบำรุงรกษารถยนต์ ไม่ว่า พิสูจน์คุณภาพของบริการที่ไดซื้อไปก็ต่อเมื่อเกิดวินาศภัยขึ้น ผู้ที่จะเอาประกนภัยจึงต้องใช้ความระมัดระวังมากเป็น
์
ื
ั
้
การขายนั้นจะได้มีการทำเป็นหนังสือ หรือมีการจดทะเบียนโอนทางทะเบียนหรือไม่ก็ตาม กรมธรรม์ประกันภัยนี้จะ พิเศษ เพราะการซื้อสินค้าอย่างอน เช่น เสื้อผ้าสำเร็จรูป ผู้ซื้อพอมองเหนขอบกพรองทางกายภาพของสินค้านั้นได้
็
ื่
่
้
ั
ิ
์
ั
สิ้นสุดความคุ้มครองนับแต่ วัน เวลาที่มีการขายรถยนต บรษทจะคนเบี้ยประกันภัยให้แก่ผู้เอาประกันภัยโดยหก แต่การเอาประกนภัยเป็นการซอความคุ้มครองสำหรับเหตุการณ์ที่อาจจะเกิดขึ้นในอนาคต ซึ่งผู้เอาประกนภัยจะ
ื
ั
ื
้
ั
เบี้ยประกันภัยสำหรับระยะเวลาที่กรมธรรม์ประกันภัยได้ใช้บังคับมาแล้วออกตามส่วน ภายใน 15 วันนับแต่วันที่ เห็นข้อบกพร่องของประกนภัยที่ซื้อไปก็ต่อเมื่อเกิดวินาศภัยขึ้นและมีปัญหาบางอย่างที่ทำให้ไมสามารถเรียกร้อง
่
ั
้
์
ึ
ู
บริษัทได้รับแจ้งการขายจากผเอาประกันภัย หรือกรณีที่บริษัททราบถงการขายรถยนตดงกล่าว บริษัทจะแจ้งการ ค่าสินไหมทดแทนจากผู้รับประกันภัยได้
ั
ั
สิ้นสุดความคุ้มครองพร้อมคืนเบี้ยประกนภัย โดยการส่งหนังสือถึงผู้เอาประกนภัยตามที่อยู่ครั้งสุดท้ายที่แจ้งให้ การประกันภัยค่อนข้างจะแตกตางจากการซอขายสินค้าหรือบริการอน ๆ เพราะในการซื้อขายสินค้าหรือ
ั
่
้
ื
ื
่
บริษัททราบ” บริการทั่วไป ผู้ซื้อสามารถที่จะตรวจสอบคุณภาพสินค้าหรือบริการก่อนที่จะตกลงซื้อจริง ๆ ได้ ดังนั้น ผู้ขายสินค้า
ตามเงื่อนไขทั่วไปข้อ 9 วรรคแรก เมื่อ นาย ช. ในฐานะผู้เอาประกันภัยได้ขายรถยนต์ที่เอาประกันภัย หรือบริการในลักษณะเช่นนี้ จึงไม่จำเป็นต้องเปิดเผยข้อมูลซึ่งผู้ซื้อไม่ได้ซักถาม ทำให้การซื้อขายสนค้าทั่วไป มีหลัก
ิ
่
้
ใหแก นาย ส. และได้ดำเนินการจดทะเบยนโอนกรรมสิทธิ์ในรถคันนี้ให้แก่ นาย ส. ในฐานะผู้รับโอนจะเป็น ผู้ซื้อต้องระวัง (Caveat Emptor หรือ Let the buyer beware) ซงอธิบายไดว่า หากผู้ซื้อไม่ตรวจสอบสินค้าที่จะ
ี
้
ึ
่
ุ
์
ั
ผู้เอาประกันภัยที่ได้รับความค้มครองตามกรมธรรม์ประกันภัยนี้ต่อไปตลอดอายุกรมธรรมประกนภัยที่เหลืออยู่โดย ซื้อให้ดี หรือเห็นได้ชัดเจนว่าสินค้านั้นชำรุดบกพร่องแต่ก็ยังซื้อสินค้านั้นไป ถือว่าผู้ซื้อนั้นขาดความระมัดระวังเอง
ั
ั
ื่
อตโนมัติ แต่เพอให้ผู้รับประกันภัยมข้อมูลล่าสุด นาย ส. ควรจะนำหลกฐานการรับโอนกรรมสิทธิ์รถคันนี้ไปแจ้งให้ ผู้ขายไม่ต้องรับผิด ดังปรากฏอยู่ในประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 473
ี
บริษัทประกนภัยทราบเพ่อออกใบสลักหลังบันทึกการเปลี่ยนแปลงชื่อผู้เอาประกนภัยจาก นาย ช. เปน นาย ส. สำหรับการประกันภัยนั้น ในขณะที่ผู้ขอเอาประกันภัยสามารถจะขอดูตวอย่างกรมธรรม์ประกันภัยก่อนที่
็
ั
ื
ั
ั
ต่อไป จะตกลงซื้อประกันภัยตามเงื่อนไขที่มีอยู่ได้ แต่โดยทั่วไปแล้ว ผู้รับประกันภัยไม่สามารถจะตรวจสอบรายละเอียดทุก
อย่างไรก็ตาม หาก นาย ช. ขายรถยนต์ที่เอาประกันภัยให้แกผู้มีอาชีพรับซื้อขายรถยนต์ เช่น เต็นท์ที่รับซื้อ อย่างเกี่ยวกับผู้ขอเอาประกันภัยซึ่งมีความสำคัญต่อผู้รับประกนภัยได้ ถึงแม้ว่าผู้รับประกันภัยจะใช้การสำรวจหรือ
่
ั
ขายรถ ตามเงื่อนไขทั่วไปข้อ 9 วรรคสอง ความค้มครองตามกรมธรรม์ประกันภัยนี้จะสิ้นสุดนับแต่ วัน เวลา ที่ การสอบถามตัวต่อตัวก็ตาม ผู้รับประกันภัยก็ยังต้องยึดถือหรือเชื่อถือตามข้อมูลที่ผู้ขอเอาประกันภัยให้มา จึงเป็น
ุ
นาย ช. ขายรถยนต์ให้แก่ผู้ซื้อนั้น หน้าที่ของผู้ขอเอาประกันภัยจะต้องเปิดเผยข้อความจริงเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมและพฤติกรรมอนเกี่ยวกับการเสี่ยงภัย
ั
ิ
ิ
ลขสทธของสมาคมประกนวนาศภยไทย หามนาไปใช้ในการแสวงหากําไรทางการคา ้
ั
้
ํ
ิ
ิ
์
ั