Page 69 - InsuranceHandbook
P. 69
50 คู่มือประกันวินาศภัยไทย
Thai General Insurance Handbook
ั
ิ
่
้
่
้
ของตนให้ผู้รับประกันภัยเพือใช้ในการพจารณารับประกนภัยว่าจะรับไดหรือไม และถารับจะคิดเบี้ยประกันภัย
เท่าไร
ดังนั้น หลักความสุจริตอย่างยิ่ง จงกำหนดให้คู่สัญญาทั้งสองฝ่าย คือ ผู้เอาประกนภัย และผู้รับประกันภัย
ึ
ั
จะต้องมีความสุจริตใจต่อกันอย่างยิ่ง (Uberrima Fides หรือ Utmost Good Faith) ต่อกันในการทำ
่
สัญญาประกันภัยมากกว่าคู่สัญญาในสัญญาประเภทอืน โดยคู่สัญญามีหน้าที่จะตองเปิดเผยข้อความจริงที่เป็น
้
ี่
สาระสำคัญทั้งหมดซึ่งเกยวข้องกับสัญญา การไม่แถลงข้อความเท็จใด ๆ ที่เกี่ยวกับการประกันภัย และการรับรองว่า
ั
จะปฏิบัติตามสญญาประกนภัย ถ้าหากคู่สัญญาฝ่ายหนึ่งละเมิดหน้าที่นี้ คู่สัญญาอกฝ่ายหนึ่งมีสิทธิ์ที่จะบอกล้าง
ี
ั
สัญญานั้นได้ โดยใช้ในสัญญาประกันภัยทุกประเภท ทั้งการประกันวินาศภัยและการประกันชีวิต
หลักความสุจริตอย่างยิ่งนี้มที่มาจากการประกนภัยสินค้าที่ขนส่งทางทะเล ซึ่งผู้รับประกนภัยตองเชื่อถือ
ี
ั
ั
้
ข้อมูลเกี่ยวกับสินค้าที่ผู้ขอเอาประกันภัยแจ้งมา ผู้รับประกันภัยอาจไม่มีโอกาสไปตรวจสินค้าที่จะส่งจริง และ
สัญญาประกันภัยนี้อาจจะทำขึ้นในประเทศปลายทางที่นำสินค้านั้นเข้า ซึ่งอยู่ห่างไกลจากประเทศต้นทางที่ส่ง
สินค้าออกค่อนข้างมาก ดังนั้น ต่างฝ่ายต่างก็ต้องเชื่อถอข้อมูลที่ส่งมาให้กัน
ื
2.1 กฎหมายที่รองรับหลักความสุจริตอย่างยง
ิ่
่
์
ิ
ประมวลกฎหมายแพงและพาณชย มาตรา 865 ได้บัญญัติไว้ว่า “ถ้าในเวลาทำสัญญาประกันภัย
ั
ั
ุ
ผู้เอาประกันภัยก็ดี หรือในกรณีประกนชีวิต บคคลอนการใช้เงินย่อมอาศัยความทรงชีพหรือมรณะของเขานั้นก็ดี
รู้อยู่แล้วละเว้นเสียไม่เปิดเผยข้อความจริงซึ่งอาจจะได้จูงใจผู้รับประกันภัยให้เรียกเบี้ยประกันภัยสูงขึ้นอีกหรือให้
บอกปัดไม่ยอมทำสัญญา หรือว่ารู้อยู่แล้วแถลงข้อความนั้นเป็นเท็จไซร้ ท่านว่าสัญญานั้นเป็นโมฆียะ
ถ้ามิได้ใช้สิทธิบอกล้างภายในกำหนดเดอนหนึ่งนับแต่วันที่ผู้รบประกนภัยทราบมลอันจะบอกล้างได้ก็ดี
ั
ื
ู
ั
หรือมิได้ใช้สิทธินั้นภายในกำหนดห้าปีนับแต่วันทำสัญญาก็ดี ท่านว่าสิทธินั้นเป็นอันระงับสิ้นไป”
จากประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 865 นี้ เราจะเห็นได้ว่า ผู้เอาประกันภัยมีหน้าที่
(1) ต้องเปิดเผยข้อความจริงที่เป็นสาระสำคัญที่ตนเองรู้ขณะเข้าทำสัญญาประกันภัยครั้งแรกให้แก่
ผู้รับประกันภัยทราบ ซึ่งถ้าผู้เอาประกันภัยไม่เปิดเผยข้อความจริงดังกล่าว จะทำให้ผู้รับประกันภัยเสียเปรียบมาก
ั
เช่น นาย ก. ต้องการทำประกันอคคีภัยบ้านอยู่อาศัย โดย นาย ก. ยังใช้บ้านหลังนั้นเป็นโรงงานทำและเก็บประทัด
ั
ั
ุ
ั
ดอกไม้ไฟและพลไว้ในบ้านด้วย นาย ก. จะต้องเปิดเผยข้อความจริงนี้ให้ผู้รับประกนภัยทราบว่าจะรบประกนภัยได ้
หรือไม่ ถ้าได้จะรับประกันภัยแบบไหน และจะคิดเบี้ยประกันภัยเท่าไร
์
ั
ั
นอกจากนน ในการต่ออายุกรมธรรมประกนวินาศภัยซึ่งปกติมีระยะเวลาเอาประกนภัย 1 ปี จะถือว่าเป็น
ั
้
การทำสัญญาประกันภัยฉบับใหม่ หากผู้เอาประกันภัยมีข้อความจริงใหม่ที่เพิ่มขึ้น หรือเปลี่ยนแปลงไปจากขอความ
้
จริงเดิมที่เคยเปิดเผยแก่ผู้รับประกนภัยไว้ เช่น ปีแรกทเอาประกนภัย นาย ข. ใช้บ้านที่เอาประกนภัยไว้นี้เพออยู่
่
ี
ั
ั
ั
ื่
อาศัยเท่านั้น แต่ในช่วงที่จะต่ออายุการประกันภัย นาย ข. มีแผนจะใช้บ้านหลังนี้เป็นโรงงานทำเฟอร์นิเจอร์ไม้ด้วย
ื
นาย ข. ในฐานะผู้เอาประกันภัยก็มีหน้าที่จะต้องเปิดเผยข้อความจริงใหม่นี้ให้ผู้รับประกันภัยทราบเพ่อพิจารณาว่า
จะรับประกันภัยต่อไปได้หรือไม่ หรือจะต้องเปลี่ยนแปลงแบบ และเงื่อนไขการรับประกันภัยตลอดจน
คิดเบี้ยประกันภัยใหม่ตามสภาพการเสี่ยงภัยที่เพิ่มขึ้นอย่างไร
ิ่
อย่างไรก็ตาม หากผู้เอาประกันภัยมีการเปลี่ยนแปลงสภาพการเสี่ยงภัยที่เพมเติมไปจากเดิมในระหว่าง
ั
ระยะเวลาเอาประกนภัย เช่น กรณีของ นาย ข. ได้เอาประกนอคคีภัยบ้านอยู่อาศัยซึ่งตอนที่ทำสัญญาประกันภัยนั้น
ั
ั
ั
นาย ข. ใช้บ้านที่เอาประกันภัยนี้เพื่ออยู่อาศัยเท่านั้น แต่ในระหว่างระยะเวลาเอาประกนภัย นาย ข. ต้องการใช้บ้าน
ื่
หลังนี้เป็นโรงงานทำเฟอร์นิเจอร์ไม้ด้วย นาย ข. ควรจะแจ้งให้ผู้รับประกันภัยทราบเพอปรับเงื่อนไข
ั
การรับประกันภัยและอตราเบ้ยประกันภัยใหม่ให้ถูกต้องกับการใช้บ้านหลังนี้เป็นโรงงานทำเฟอร์นิเจอร์ไม้ด้วย
ี
มิฉะนั้น หากเกิดวินาศภัยขึ้น ผู้รับประกันภัยจะชดใช้ค่าสินไหมทดแทนตามเงื่อนไข 6.5 กรณีที่ใช้สถานที่
ิ่
ั
เอาประกนภัยเพมเติมจากการอยู่อาศัย ซึ่งระบุว่า “หากปรากฏว่าสถานที่เอาประกันภัยซึ่งยังคงใช้เป็นที่อยู่อาศยนั้น
ั
ิ
ั
ั
ิ
ิ
ลขสทธของสมาคมประกนวนาศภยไทย หามนาไปใช้ในการแสวงหากําไรทางการคา ้
์
้
ํ
ิ