Page 73 - InsuranceHandbook
P. 73
54 คู่มือประกันวินาศภัยไทย
Thai General Insurance Handbook
ั
ทรัพย์สิน การติดต้งระบบพรมนำดับเพลงอัตโนมัติ (Automatic Sprinkler System) ในอาคารสูง เป็นต้น
ิ
้
ั
แต่ถ้าผู้เอาประกันภัยเปิดเผยข้อความจริงนี้ให้ผู้รับประกันภัยทราบก็จะได้รับส่วนลดอตราเบี้ยประกันภัยด้วย
(4) ข้อความจริงที่ผู้รับประกันภัยสละสิทธิ์ที่จะหาข้อมูล (Facts where the Insurer has waived its
ั
right to the information) ข้อความจริงเหลาน้รวมถึงข้อความจริงซึ่งผู้เอาประกนภัยให้ข้อมูลเพียงบางส่วน หรือ
่
ี
่
ให้ข้อมูลไม่ครบ หรือไมได้ตอบคำถามบางข้อในใบคำขอเอาประกันภัย โดยที่ผู้รับประกันภัยก็ไม่ได้สนใจที่จะติดตาม
หาข้อมูลหรือคำตอบในเรื่องเหล่านี้ จะถือว่าผู้รับประกันภัยได้สละสิทธิ์ในข้อมูลเหล่านั้น และไมสามารถจะอางใน
่
้
์
่
เรื่องของการไมเปิดเผยข้อความจริง (Non-Disclosure) ในอนาคตได้อีก เช่น ในการขอเอาประกันภัยรถยนต
ภาคสมัครใจประเภทระบุชื่อผู้ขับขี่ ซึ่งผู้รับประกันภัยกำหนดให้ผู้เอาประกันภัยต้องระบุชื่อผู้ขับขี่ที่ประสงค์จะให้
บริษัทคุ้มครองพร้อมกับระบุวัน/เดือน/ปีเกิด และอาชีพของแต่ละบุคคลไว้ด้วย และเพือมิให้มีปัญหาโต้แย้งกันใน
่
ภายหลังไดว่า ผู้ขอเอาประกันภัยมีเจตนาจะปกปิด หรือแถลงเท็จเกี่ยวกับอายุ หรือความสามารถในการขับรถยนต์
้
ั
้
ของผู้ขับขี่ จึงกำหนดให้ผู้เอาประกันภัยแนบสำเนาบัตรประจำตัวประชาชน และสำเนาใบอนุญาตขับขี่ไปพรอมกบ
ใบคำขอเอาประกันภัยด้วย และหากบริษัทตกลงรับประกันภัย โดยที่ผู้ขอเอาประกันภัยมิได้แนบหลักฐานทั้งสองมา
ด้วยแล้ว ต้องถือว่าบริษัทไม่ติดใจในส่วนที่เกี่ยวข้องกับข้อมูลดังกล่าว บริษัทจะยกขึ้นมากล่าวอ้างในภายหลังมิได้ว่า
ผู้ขอเอาประกันภัยปกปิด หรือแถลงเท็จเกี่ยวกับเรื่องดังกล่าว
(5) ข้อความจริงที่เกินกว่าความจำเป็น เพราะมคำรบรองโดยชัดแจ้ง (Express Warranty) หรือคำรับรอง
ั
ี
โดยปริยาย (Implied Warranty) ในส่วนของข้อเท็จจริงนั้นแล้ว เช่น ผู้เอาประกันภัยไม่จำเป็นต้องแจ้งให้
ผู้รับประกันภัยทราบว่าสินค้าที่ตนเองทำประกันภัยสินค้าที่ขนส่งทางทะเลไว้นั้นเป็นสิ่งของที่ชอบดวยกฎหมายและ
้
ไม่ได้นำไปใช้ในทางที่ผิดกฎหมาย เป็นต้น เนื่องจากเป็นข้อเท็จจริงที่เกินกว่าความจำเป็น ทั้งนี้เพราะมีคำรับรองโดย
้
ั
ปริยายในกฎหมายบังคบไว้แลวว่าการเสี่ยงภัยที่ได้ทำประกันภัยไว้นั้นจะต้องเป็นสิ่งที่ชอบด้วยกฎหมาย
(Implied Warranty of Legality)
(6) ข้อความจริงซึ่งควรจะถูกเปิดเผยเมื่อมีการเขาไปสำรวจ (Facts that a survey should have
้
revealed) จะใช้เฉพาะในกรณีที่ผู้รับประกันภัยมการเข้าไปสำรวจภัยจริง ๆ โดยมีข้อแม้ว่าผู้ขอเอาประกันภัยไม่ได้
ี
ั
ปิดบังเรื่องใด ๆ แก่ผู้สำรวจภัย หากผู้สำรวจภัยพลาดบางสิ่งบางอย่างซึ่งเป็นข้อความจริงที่เป็นสาระสำคญ
ผู้รับประกนภัยก็ไม่สามารถจะอ้างในเรื่องที่ผู้เอาประกันภัยไม่เปิดเผยข้อความจริงนี้ในภายหลังได ้
ั
่
ั
(7) ข้อความจริงซึ่งผู้ขอเอาประกนภัยไมทราบ (Facts that the Proposer does not know) กรณีนี้
จะมีความแตกต่างในการประยุกตใช้ระหว่างผู้ขอเอาประกันภัยที่เป็นบุคคลธรรมดากับผู้ขอเอาประกนภัยที่เป็น
์
ั
สถานประกอบธุรกิจ สำหรับผู้ขอเอาประกันภัยที่เป็นบุคคลธรรมดาจะต้องมีการทดสอบว่าเป็นการสมเหตสมผล
ุ
ิ
ั
้
ั
หรือไม่ที่จะคาดหวังให้ผู้ขอเอาประกนภัยเปดเผยข้อความจริงที่เป็นสาระสำคญ และเป็นการแสดงขอความอันเป็น
เท็จโดยไม่มีเจตนา (Innocent Misrepresentation) หรือไม่
2.2.2 การแถลงข้อความเท็จ (Misrepresentation)
ั
ิ
การแถลงข้อความเท็จ (Misrepresentation) หมายถึง การกล่าวข้อความจรงใด ๆ ของผู้เอาประกนภัย
ในขณะขอทำสญญาประกนภัยเป็นความเท็จ ไม่ว่าข้อความนั้นผู้เอาประกันภัยจะกล่าวขึ้นเองหรือกล่าวเนื่องจาก
ั
ั
การตอบคำถามของผรบประกนภัยในขณะทำสญญาประกันภัย ผู้เอาประกนภัยจะตองกล่าวข้อความจริงทั้งหมด
้
ั
ู
ั
ั
ั
้
ู
ั
่
การแถลงข้อความเท็จนี้อาจเกิดขึ้นโดยคำพดเจรจาตอรองในการทำสัญญาประกนภัยซึ่งเป็นการพูดตอบโต้กัน
ต่อหน้า หรือทางโทรศัพท์ เอกสารตอบโต้ หรือข้อความที่กรอกในใบคำขอเอาประกนภัย การแถลงข้อความเท็จนี้
ั
แตกต่างจากการไม่เปิดเผยข้อความจริง (Non-Disclosure) และการปกปิดข้อความจริง (Concealment)
ี
คือ ข้อความจริงที่ผู้เอาประกันภัยแถลงตามข้อนี้อาจไม่ใช่ข้อความจริงที่ผู้เอาประกันภัยมหน้าที่จะต้องเปิดเผย
ตามข้อ 2.2.1 แต่เมื่อผู้รับประกันภัยมีความประสงค์จะทราบ ผู้เอาประกันภัยจะต้องตอบข้อความเหล่านั้น
่
ิ
ตามความจริงทั้งหมด การกลาวถึงความเชือ (Belief) หรือความเห็น (Option) ที่ผิดไปจากความจรงตามปกติ
่
ไม่ถือว่าเป็นการแถลงข้อความเท็จ ผู้เอาประกันภัยจะถือว่าข้อความจริงเหล่านั้นไม่ใช่ข้อสาระสำคัญที่จะต้อง
ลขสทธของสมาคมประกนวนาศภยไทย หามนาไปใช้ในการแสวงหากําไรทางการคา ้
ั
้
ํ
ิ
ิ
ั
ิ
ิ
์