Page 76 - InsuranceHandbook
P. 76
บทที่ 5 หลักส�าคัญของสัญญาประกันภัย 57
คำรับรองในกรมธรรม์ประกันภัย สามารถแยกออกเป็น 3.1 แบบของสัญญาประกันภัยตามการชดใช้ค่าสินไหมทดแทน
3
ั
2.3.1 คำรับรองโดยชัดแจ้ง หรือคำรับรองเป็นลายลักษณ์อกษร (Express Warranties) เป็นการให้คำมั่น ในการพิจารณาเกี่ยวกับการชดใช้ค่าสินไหมทดแทน เราสามารถจำแนกสญญาประกนภัยออกได้ 4 แบบ
ั
ั
ของผู้เอาประกันภัยที่ระบุเป็นลายลักษณ์อักษรไว้ในกรมธรรม์ประกันภัยว่า จะต้องกระทำหรือไม่กระทำการใด หรือ คือ
รับรองว่าสิ่งใดมีอยู่หรือไม่มีอยู่ เช่น 3.1.1 สัญญาประกันภัยแบบชดใช้ตามความเสียหายที่เกิดขึ้นจริง (Indemnity Insurance Contract)
ั
ิ
ู
(1) ผเอาประกนภัยจะตดตังอปกรณบางอยาง เช่น อปกรณดับเพลง สญญาณกนขโมย กลองวงจรปด ที่ใช้การ 3.1.2 สัญญาประกันภัยแบบกำหนดมูลค่า (Valued Insurance Contract หรือ Agreed Value
้
ิ
์
ั
้
ั
ิ
ุ
้
์
ุ
่
ได้ตลอดเวลาในสถานที่เอาประกันภัยตามประเภทและจำนวนที่กำหนด Insurance Contract)
(2) ผู้เอาประกันภัยจะจัดให้มียามรักษาความปลอดภัยสถานที่เอาประกันภัยตลอด 24 ชั่วโมง 3.1.3 สัญญาประกันภัยแบบผสมระหว่างการชดใช้ตามความเสยหายที่เกิดขึ้นจริงและแบบกำหนดมลคา
ี
ู
่
(3) ผู้เอาประกันภัยจะไม่เก็บวัสดุที่ไวต่อการเกิดไฟไหม้ไว้ในสถานที่เอาประกันภัยตามประเภทที่ระบุไว้และ (Combined Indemnity and Valued Insurance Contract หรือ Combined Indemnity and Agreed Valued Insurance
ั
ไม่เกินปริมาณที่กำหนดไว้ เช่น ข้อรับรองข้อที่ 49 สินค้าอนตรายข้อ 3 ในสัญญาประกันอคคีภัยระบุว่า “ผู้เอา Contract)
ั
ประกันภัยรับรองว่า ในระหว่างที่กรมธรรม์ประกันภัยนี้มีผลบังคับ ไม่มีการเก็บน้ำมันก๊าดเกินกว่า 1,800 ลิตรหรือ 3.1.4 สัญญาประกันภัยแบบชดใช้ตามมลค่าทรัพย์สินที่เป็นของใหม (Replacement Cost Insurance
่
ู
่
่
น้ำมันเบนซิน หรือแก๊สโซลิน หรือน้ำมันยานยนต์อย่างใดอยางหนงเกนกว่า 900 ลิตร หรือไม้ขีดไฟเกินกว่า 4 หีบ Contract)
ึ
ิ
ั
หรือประทัดเกินกว่า 4 หีบ หรือฝ้ายที่ยังมิได้อัดแน่นเป็นเบล หรือปอ นุ่น หญ้า และฟาง ไม่ว่าจะได้อดแน่นเป็นเบล
แล้วหรือไม่ก็ตาม ไว้ในบริเวณที่เอาประกันภัยตามกรมธรรม์ประกันภัยฉบับนี้เป็นอันขาด” 3.1.1 สัญญาประกันภัยแบบชดใช้ตามความเสียหายที่เกิดขึ้นจริง
2.3.2 คำรับรองโดยปริยาย หรือคำรับรองโดยนัย (Implied Warranties) เป็นคำรับรองที่มิได้ระบุเป็นลาย ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย์ มาตรา 877 บัญญัติว่า “ผู้รับประกันภัยจำต้องใช้ค่าสินไหมทดแทน
่
์
ลกษณอกษรในกรมธรรมประกันภัย แต่กฎหมายถือว่ามีคำรับรองประเภทนี้อยู่ในกรมธรรม์ประกันภัยและผู้เอา ดังจะกล่าวต่อไปนี้ คือ
ั
ั
์
ประกันภัยจะต้องถือปฏิบัติ เช่น ในการประกนภัยทางทะเลตามกรมธรรมประกันภัยแบบรายเทยว (Voyage (1) เพอจำนวนวินาศภัยอนแท้จริง
ั
่
์
ี
ั
ื่
Policy) มีคำรับรองโดยปริยายว่า เรือจะต้องมีสภาพที่สามารถเดินทะเลได้อย่างปลอดภัยเมื่อเริ่มออกเดินทาง (2) เพือความบบสลายอันเกิดแก่ทรัพย์สินซึ่งได้เอาประกนภัยไว้เพราะได้จดการตามสมควรเพอป้องปัด
ุ
่
ื่
ั
ั
หลักความสุจริตอย่างยิ่งนี้เป็นหลักเกณฑ์และวิธีปฏิบัติในสัญญาประกันภัย ซึ่งผู้เอาประกันภัยจะต้อง ความวินาศภัย
ปฏิบัติในขณะขอเอาประกันภัย จนกระทั่งสัญญาประกันภัยนั้นเป็นผลสำเร็จใช้บังคับตามกฎหมาย และเมื่อ (3) เพื่อบรรดาค่าใช้จ่ายอันสมควรซึ่งได้เสียไปเพื่อรักษาทรัพย์สินซ่งเอาประกันภัยไว้นั้นมิให้วินาศ
ึ
สัญญาประกันภัยเกิดขึ้นแล้วยังต้องใช้หลักความสุจริตอย่างยิ่งนี้บังคับในการปฏิบัติตามสัญญาประกันภัยนั้นต่อไป อันจำนวนวินาศจริงนั้น ท่านให้ตีราคา ณ สถานที่และในเวลาซ่งเหตุวินาศภัยนั้นได้เกิดขน อนึ่ง จำนวนเงิน
ึ
ึ้
จนกว่าสัญญาประกันภัยจะสิ้นสุดลง ซงได้เอาประกันภัยไว้นั้น ท่านให้สันนิษฐานไว้ก่อนว่าเป็นหลักประมาณอันถูกต้องในการตีราคาเช่นว่านั้น
่
ึ
ท่านห้ามมิให้คิดค่าสินไหมทดแทนเกินไปกว่าจำนวนเงินซึ่งเอาประกันภัยไว้”
3. หลักการชดใช้ค่าสินไหมทดแทน (Principle of Indemnity)
ั
ึ
่
ั
หลักการชดใช้ค่าสินไหมทดแทน เป็นหลักกฎหมายที่เกี่ยวข้องกบสัญญาประกันภัยซงมีความสำคัญมาก เมื่อเกิดความเสียหายขึ้นอนเป็นผลโดยตรงจากภัยที่เอาประกันภัยไว้ ผู้รับประกันภัยต้องชดใช้
ิ
ี
่
้
ที่สุดอีกหลักหนึ่ง โดยมีวัตถุประสงค์ดังนี้ ค่าสินไหมทดแทนให้แก่ผู้มสิทธิ์ไดรับตามความเสียหายที่เกดขึ้นจริง รวมทั้งค่าใช้จ่ายที่ผู้เอาประกันภัยได้จ่ายไปเพือ
ั
ิ
ึ้
1. ชดใช้ตามที่เสียหายจริง เพื่อให้ผู้เอาประกันภัยกลับสู่สถานะการเงินเดิมก่อนที่จะมีวินาศภัยเกิดขน รักษาทรัพย์สินที่เอาประกันภัยไม่ให้เกิดความเสียหายจากภัยที่เอาประกนภัยไว้ แต่รวมกันแล้วต้องไม่เกนจำนวน
ั
2. ผู้เอาประกนภัยจะไม่ได้รับกำไร หรือขาดทุนหลังจากที่มีวินาศภัยเกิดขึ้น เงินที่เอาประกันภัยไว้
ั
ั
3. ป้องกันมิให้ผู้เอาประกนภัยได้กำไรจากการเอาประกันภัย สำหรับการประกันภัยทรัพย์สิน เช่น การประกันอคคีภัยสำหรับที่อยู่อาศัย การประกันอคคีภัย การ
ั
ิ
4. ป้องกันมิให้เกิดความเสียหายโดยจงใจ ประกันภัยความเสี่ยงภัยทรัพย์สิน ฯลฯ ก่อนที่ผู้เอาประกันภัยจะได้รับชดใช้ค่าสนไหมทดแทนตามความเสียหายที่
ั
ี
ิ
5. รักษาเบี้ยประกันภัยให้อยู่ในระดับที่เหมาะสม เกิดขึ้นจรง ณ วัน เวลา และสถานที่ที่เกิดความเสยหายนั้น ผู้เอาประกันภัยควรเอาประกนภัยตามมูลค่าที่แท้จริง
(Actual Cash Value) ของทรัพย์สินนั้นก่อน เช่น บ้านที่มีมูลค่าที่แท้จริง (ไม่รวมฐานรากและที่ดิน) ตามสภาพ ณ
ั
ั
หลักการชดใช้ค่าสินไหมทดแทนมีความสมพนธ์กับหลักส่วนได้เสียในเหตุที่เอาประกนภัย ทั้งนี้เพราะ เวลาที่ทำประกันภัยในปัจจุบันเท่ากับ 2 ล้านบาท ก็ควรจะมีจำนวนเงินเอาประกันภัย 2 ล้านบาท
ั
้
้
ั
้
ั
ผู้เอาประกันภัยไดเอาประกันภัยในสิทธิ์ที่เขามีในสิ่งที่เอาประกนภัยนั้น เช่น นาย ก. เอาประกนอัคคีภัยในสิทธิ์ที่เขา เราสามารถคำนวณมูลค่าที่แทจริงของทรัพย์สินได ดังนี้
่
้
ั
เป็นเจ้าของบาน ในกรณีที่มีวินาศภัยเกิดขึ้น นาย ก. ในฐานะผเอาประกนภัยจะได้รับชดใช้ค่าสินไหมทดแทนตาม มูลค่าที่แท้จริงของทรัพย์สิน = มูลค่าทรัพย์สินที่เป็นของใหม - ค่าเสื่อมราคา
ู
้
ิ
่
ความเสียหายที่เกิดขึ้นจริง แต่ไม่เกนจำนวนเงินที่เอาประกันภัยไว้ แต่ถ้า นาย ก. ไมได้เป็นเจ้าของบ้านหลังนั้นอีก [Actual Cash Value = Replacement Cost - Depreciation]
ี
ั
ั
่
ิ
ต่อไป นาย ก. ก็ไม่มีสิทธิ์ที่จะเอาประกนภัยบ้านหลังนั้นได้อก และไม่มีสิทธิ์ที่จะได้รบชดใช้คาสนไหมทดแทนใน
ิ
กรณีที่มีวินาศภัยเกดขึ้น
ี
ตำราประกันภัยส่วนใหญ่จะจำแนกสัญญาประกันภัยเพยง 3 แบบ คือ 1, 2 และ 4 เท่านั้น
3
์
ิ
ิ
ั
้
ลขสทธของสมาคมประกนวนาศภยไทย หามนาไปใช้ในการแสวงหากําไรทางการคา ้
ั
ํ
ิ
ิ