Page 9 - InsuranceJournal135
P. 9
วิชาการ IPRB
การคาดการณ์อัตราการเติบโตของ 2. มาตรการด้านการประกันภัยในปี 2560 ที่ส่งผลต่อมูลค่าเบี้ยประกันภัยรับตรง ี ั
ี
2.1. คาส่งนายทะเบียนท่ 8/2560 เร่อง ให้ใช้อัตราเบ้ยประกันภัยรถยนต์สาหรับรถยนต์ท่ติดต้ง ระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด
�
ั
ี
ื
�
อุตสาหกรรมประกันวินาศภัย 2.2. ค�าสั่งนายทะเบียนที่ 11/2560 เรื่องประกันภัยรถยนต์ปลอดแอลกอฮอล์ มีผลบังคับใช้วันที่ 1 มิถุนายน 2560
(CCTV) มีผลบังคับใช้วันที่ 3 มีนาคม 2560
โดยใช้เทคนิคการวิเคราะห์อนุกรมเวลา 2.3. ค�าสั่งนายทะเบียนที่ 16/2560 เรื่อง แก้ไข เปลี่ยนแปลง อัตราเบี้ยประกันอัคคีภัยและอัตราเบี้ยประกันภัยการประกันภัย
ความเสี่ยงภัยทรัพย์สิน มีผลบังคับใช้วันที่ 1 ตุลาคม 2560
�
ี
�
2.4. ข้อมูลเร่องการนาเบ้ยประกันสุขภาพมาใช้ในการลดหย่อนภาษีเงินได้ ซ่งอยู่ในระหว่างการดาเนินงานของกรมสรรพากร โดย
ึ
ื
คาดว่าจะสามารถได้สิทธิประโยชน์ทางภาษีลดหย่อนได้ไม่เกิน 15,000 บาท และใช้วงเงินเดียวกับการใช้สิทธิลดหย่อน
ค่าเบี้ยประกันชีวิต รวมกันไม่เกิน 100,000 บาท
ตัวแบบที่ใช้ในการวิเคราะห์อนุกรมเวลา
ส�านักงานฯ ใช้เทคนิคค่าเฉลี่ยเคลื่อนที่ 1 ปีแบบง่าย (Simple Moving Average) ของอัตราส่วนระหว่างเบี้ยประกันภัยรับตรง (Direct
Premiums) ต่อผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (GDP) เพื่อช่วยขจัดอิทธิพลของฤดูกาล และน�ามาสร้างสมการถดถอย (Regression Analysis)
เพื่อใช้ในการประมาณอัตราการเติบโตของธุรกิจประกันวินาศภัยในอนาคต และท�าการปรับด้วยค่าอิทธิพลของฤดูกาล ดังสมการที่ 2
สมการที่ (2) : Y = ค่าอิทธิพลจากแนวโน้ม (T) * ค่าอิทธิพลจากฤดูกาล (S)
t t t
เมื่อ Y = อัตราส่วนเบี้ยประกันภัยรับตรงต่อ GDP
t
= (เบี้ยประกันภัยรับโดยตรง * 1,000) / GDP
โดยก�าหนดให้ C และ I มีค่าเท่ากับ 1 เน่องจากเป็นการพยากรณ์ระยะส้น โดยมีสมมติฐานว่าไม่มีผลกระทบของวัฏจักรและค่าผันแปร
ั
ื
t t
จากเหตุการณ์ไม่ปกติเข้ามาเกี่ยวข้อง
รูปที่ 1 : กราฟแสดงอัตราส่วนเบี้ยประกันภัยรับตรงต่อ GDP ตั้งแต่ปี 2543 – 2559
วารสารประกันภัย เดือนเมษายน - มิถุนายน 2560 9