Page 101 - InsuranceHandbook
P. 101
82 คู่มือประกันวินาศภัยไทย
Thai General Insurance Handbook
6.2 หลักสาเหตุใกล้ชิดในประมวลกฎหมายไทย
เมื่อพิจารณาประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย์ของไทยจะพบว่ามีการกล่าวถึงหลักสาเหตุใกล้ชิดไว้บ้างใน
่
มาตรา 877 (2) ที่ระบุว่า
มาตรา 877 ผู้รับประกันภัยจำต้องใช้ค่าสินไหมทดแทนดังจะกล่าวต่อไปนี้ คือ
(1) เพื่อจำนวนวินาศภัยอันแท้จริง
(2) เพื่อความบุบสลายอันเกิดแก่ทรัพย์สินซึ่งได้เอาประกนภัยไว้เพราะได้จัดการตามสมควรเพื่อปองปัด
ั
้
ความวินาศภัย
(3) เพื่อบรรดาค่าใช้จ่ายอันสมควรซึ่งได้เสียไปเพื่อรักษาทรัพย์สินซึ่งเอาประกันภัยไว้นั้นมิให้วินาศ
บทบัญญัติข้างต้นได้ระบุโดยชัดแจ้งว่าไม่เพียงแต่ผู้รับประกันภัยจะต้องรับผิดต่อทรัพย์ที่ได้รับความเสียหาย
ั
จากวินาศภัยแล้วตาม (1) ผู้รับประกันภัยยังจะต้องรับผิดต่อทรัพย์ที่ได้เอาประกนภัยต่อความเสียหายต่อทรัพย์ที่แม้
ี
ั
จะไม่ได้รับความเสียหายโดยตรงจากวินาศภัยแต่ความเสยหายน้นเป็นเหตุการณ์ใกล้ชิดต่อเนื่องซึ่งเป็นผลมาจาก
วินาศภัยด้วยเพราะได้จัดการตามสมควร กรณีที่ 3 และ 4 ข้างต้นเป็นตัวอย่างที่เห็นไดชัดถึงการนำ มาตรา 877 (2)
้
มาใช้ในทางปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรม
์
่
ื
ี
ื
้
ดังนั้น ในการวิเคราะหสาเหตุใกล้ชิดจำเป็นจะต้องมความเข้าใจพนฐานในเรองของภัย และลักษณะการ
เกิดขึ้นของเหตุการณ์ ไปพรอมกันดังต่อไปนี้
้
1. ภัย (Peril)
ภัยในการวิเคราะห์หาสาเหตุใกล้ชิดแบ่งออกเป็น 3 ประเภท คือ
ั
1.1 ภัยที่เอาประกันภัย (Insured Peril) หมายถึงภัยที่ระบุคุ้มครองโดยชัดแจ้งในกรมธรรม์ประกนภัย
้
1.2 ภัยที่ไมได้เอาประกันภัย (Uninsured Peril) หมายถึงภัยที่สามารถให้ความคมครองและไมเป็น
ุ
่
่
้
ภัยที่กรมธรรมประกันภัยระบุโดยชัดแจ้งในขอยกเว้นของกรมธรรมประกันภัย แต่ผู้เอาประกันภัยไม่ได้ขอขยาย
์
์
ความคุ้มครองหรือระบุให้คุ้มครอง หรือเป็นภัยเพิ่มพิเศษที่ผู้เอาประกันภัยสามารถซ้อเพิ่มได้แต่ไม่ได้ซื้อ
ื
้
1.3 ภัยทยกเว้น (Excluded Peril) หมายถึงภัยที่ระบุโดยชัดแจงในกรมธรรม์ประกันภัยว่าไม่คุ้มครอง
ี
่
เช่น ภัยสงคราม ภัยนิวเคลียร์ เป็นต้น
ื
่
็
ดังนั้น เพอเปนการบรรเทาปัญหาการตีความภายใต้หลักสาเหตุใกล้ชิด ผู้เอาประกันภัยควรเลือก
ั
ึ
์
่
กรมธรรมประกันภัยความเสี่ยงภัยทรพย์สิน [Accidental Damage (Property) Insurance] ซงเป็นกรมธรรม์ที่
์
คุ้มครองแบบสรรพภัย (All Risks Basis) แทนกรมธรรมประกันอัคคีภัย เนื่องจากกรมธรรม์ประกันภัยความเสี่ยงภัย
ทรัพย์สินจะประกอบไปด้วยภัยเพียง 2 ประเภท คือ
1. ภัยที่เอาประกันภัย (Insured Peril)
2. ภัยที่ยกเว้น (Excluded Peril)
์
ั
ั
์
ในการตีความจะไม่ซับซ้อนเมื่อเปรียบเทียบกับกรมธรรมประกนอคคีภัยซึ่งเป็นกรมธรรมที่คุ้มครองแบบ
่
ระบุภัย (Named Perils Basis) ซงประกอบด้วยภัย 3 ประเภท คือ
ึ
1. ภัยที่เอาประกันภัย (Insured Peril)
2. ภัยที่ไมไดเอาประกันภัย (Uninsured Peril)
้
่
3. ภัยที่ยกเว้น (Excluded Peril)
ความซับซ้อนในการตีความจะมีมากขึ้นเมื่อต้องมาแยกว่าภัยใดเป็นภัยที่เอาประกันภัย (Insured Peril)
หรือเป็นภัยที่ไม่ไดเอาประกันภัย (Uninsured Peril)
้
ิ
์
ิ
ลขสทธของสมาคมประกนวนาศภยไทย หามนาไปใช้ในการแสวงหากําไรทางการคา ้
ิ
้
ํ
ั
ั
ิ