Page 99 - InsuranceHandbook
P. 99

80   คู่มือประกันวินาศภัยไทย
             Thai General Insurance Handbook



              เป็นสาเหตุที่มีพลังและมีประสิทธิภาพ (Active and Efficient Cause) และยังคงเกิดขึ้นต่อเนื่องแม้ในขณะที่
                                                 ี
              เรือกำลังจม ในขณะที่พายุไซโคลนเป็นเพยงตัวเร่งทำให้เรือจมเร็วขึ้นเท่านั้นซึ่งถือว่าเป็นสาเหตุไกลตัว (Remote
              Cause) ไม่ใช่สาเหตุหลัก (Dominant Cause) ที่เป็นสาเหตุใกล้ชิดแต่อย่างใด


                     กรณศึกษาของ Etherington v. Lancashire and Yorkshire Accident Insurance (1909) เป็นอีกกรณี
                         ี
                    ้
                                                                           ุ
                       ิ
              ที่มีใช้อางองและอธิบายถึงสาเหตุใกล้ชิด กล่าวคือ ชายคนหนึ่งได้ประสบอบัติเหตุตกจากหลังม้าในขณะขี่ม้าโดยได ้
                                                                              ั
              ตกลงไปในบึงน้ำที่มีน้ำขังทำใหสลบไปท่ามกลางอากาศที่หนาวเย็น จนกระทงมีชาวบ้านมาพบในวันรุ่งขึ้นจึงนำส่ง
                                                                              ่
                                        ้
              โรงพยาบาลและเสียชีวิตในวันถัดมาจากโรคปอดบวมเนื่องจากนอนแช่น้ำนานเกินไป ในกรณีนี้ศาลวินิจฉัยว่าสาเหตุ
                                             ุ
              การเสียชีวิตเกิดจากการตกม้าซึ่งเป็นอบัติเหตุ เหตุการณ์ทั้งหมดที่เกิดขึ้นล้วนแต่เป็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นต่อเนื่องกัน
                                                             ้
              ตามธรรมชาติโดยไม่มีเหตุการณ์อื่นที่เป็นเหตุการณ์ใหม่เขามาแทรกแต่อย่างใด
                                         ั
                                                                                      ั
                               ี
                     ในกรณีนี้เทยบเคียงได้กบการเล่นเกมส์โดมิโน โดยสมมุติให้นำตัวอกษรภาษาองกฤษมาเรียงต่อกันบนแป้น
                                                                            ั
              ตั้งแต่ A ไปจนถึง Z หากเรานำนิ้วผลักที่ A เราจะพบว่า B จะล้มต่อเนื่องไปถึง C, D, E และต่อเนื่องเรื่อยไปจนถึง
              Z ในที่สุด ในกรณีนี้ เราจะพบว่าสาเหตุหลักที่ทำให้ Z ล้มมาจาก A ซงอยู่ห่างจาก Z มากทสุด แทนที่จะเป็น Y ซง ่ ึ
                                                                                         ี่
                                                                       ึ
                                                                       ่
                                     ่
              อยู่หน้า Z ทั้งนี้เพราะแรงสงของ A ยังคงมีพลังและมีประสิทธิภาพ (Active and Efficient) ต่อเนื่องสามารถส่ง
              แรงผลักให้ตัวอักษรทุกตัวล้มลงติดต่อกันไปจนถึง Z ดังนั้น สาเหตุใกล้ชิดของทฤษฎีโดมิโนครั้งนี้คือ A
                                                                                   ิ
                             ั
                                                                                                  ี
                     ในทางกลบกัน หากชายดังกล่าวฟนขึ้นแตมาเสียชีวิตในเวลาต่อมาด้วยอหวาตกโรค ในกรณนี้การติดเชื้อ
                                                        ่
                                                  ื้
              อหวาตกโรคจะกลายเป็นสาเหตุใหม่ (New and Independent Cause) ที่มีพลังและมีประสิทธิภาพที่เข้ามาแทรก
                ิ
              ส่งผลให้ชายดังกล่าวต้องเสียชีวิตลง ในกรณีนี้ การเป็นอหิวาตกโรคจึงเป็นสาเหตุหลักที่เป็นสาเหตุใกล้ชิดแทน
              การตกม้าที่เป็นเพียงสาเหตุไกลตัวจากเหตุการณ์ครั้งนี้
                                                                                 ั
                                                                                                    ้
                                                         ์
                     หากเรายังคงนำทฤษฎีโดมิโนมาใช้วิเคราะหหาสาเหตุใกล้ชิด โดยนำตัวอกษรมาเรียงแถวบนแปนตามเดิม
                                 ิ
              ตั้งแต่ A ถึง Z เรานำน้วผลักที่ A เราจะพบว่า B จะล้มต่อเนื่องไปเรื่อย ๆ ในกรณีนี้หากเราเอากระดาษมากน
                                                                                                           ั
                                                                                                           ้
              ระหว่าง T และ U เราจะพบว่า U จะไม่ล้มอีกต่อไป และหากเราเอานิ้วผลักต่อไปที่ U เราจะพบว่า U จะล้ม
              ต่อเนื่องทำให้ V, W, X, Y, Z ล้มต่อเนื่องไป ในกรณีนี้ U จะเป็นสาเหตุใกล้ชิดที่ทำให้ Z ล้มแทนที่จะเป็น A เหมือน
              ในตัวอย่างข้างต้น ทั้งนี้เป็นเพราะแรงผลักของ A นั้นได้หมดกำลังลงไปแล้วที่ T ซึ่งไม่สามารถสงแรงต่อไปจนทำให้
                                                                                            ่
                                                                                     ่
                                                                          ็
              Z ล้มได้ แต่ทันทีที่เราเอานิ้วผลักไปที่ U เราจะพบว่า U จะกลายเปนสาเหตุใหม (New and Independent
              Cause) ที่เข้ามาแทรกและเป็นสาเหตุที่มีพลังและประสิทธิภาพ (Active and Efficient Cause) ส่งผลให้ Z ล้มใน
              ที่สุด ในกรณีนี้ U คือสาเหตุใกล้ชิดที่ทำให้ Z ล้ม ไม่ใช่ A หรือ T
                     ในทางปฏิบัติ ผู้รับประกันภัยจะใช้หลักสาเหตุใกล้ชิดในการพิจารณาว่า ความเสียหายที่เกิดขึ้นนั้นเกิดจาก
              หรือเป็นผลโดยตรงอันใกล้ชิดของภัยที่คมครองในกรมธรรม์ประกันภัยฉบับนั้นหรือไม  ่
                                               ุ้
                     สาระสำคัญของหลักสาเหตุใกล้ชิดซึ่งผู้รับประกันภัยจะต้องชดใช้ค่าสินไหมทดแทน มดังนี้
                                                                                          ี
                     1. ต้องมีภัยที่รับประกันภัยไว้เกิดขนจริง
                                                 ึ้
                     2. ความเสียหายที่เกิดขึ้นกับวัตถุที่เอาประกันภัยเป็นผลโดยตรงจากภัยที่ระบุไว้ในสัญญาประกันภัย
                     3. เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นนั้นเป็นเหตการณ์ที่เกิดขึ้นต่อเนื่องกนโดยไมขาดตอน โดยไม่มีเหตุการณ์ใหม่เขามาแทรก
                                                                                                    ้
                                               ุ
                                                                   ั
                                                                         ่
                                           ิ
                                                                                    ิ
                                ี
                     4. ในกรณีที่มภัยหลายชนดเกิดขึ้นไม่พร้อมกัน ภัยชนิดแรกไม่ว่าจะก่อให้เกดความเสยหายมากหรือน้อย
                                                                                            ี
              จะต้องเป็นสาเหตุใกล้ชิด แม้ว่าภัยที่มาทีหลังจะทำให้เกิดความเสียหายกับวัตถุที่เอาประกันภัยมากกว่าก็ตาม







                                       ์
                                       ิ
                                      ิ
                                   ลขสทธของสมาคมประกนวนาศภยไทย หามนาไปใช้ในการแสวงหากําไรทางการคา ้
                                    ิ
                                                             ้
                                                               ํ
                                                        ั
                                                  ั
                                                    ิ
   94   95   96   97   98   99   100   101   102   103   104