Page 33 - Prevention_and_Suppression_of_Money_Laundering_Handbook
P. 33
ห ม ว ด ที่ 1 | 25
ตารางที่ 1.13 ตัวอย่างการกำหนดระดับความเสี่ยงลูกค้าโดยใช้ปัจจัยความเสี่ยงด้านลักษณะอาชีพและ
การประกอบธุรกิจ
ระดับความเสี่ยง
ลักษณะอาชีพและการประกอบธุรกิจ
ต่ำ ปานกลาง สูง
รัฐบาล ราชการ รัฐวิสาหกิจ องค์กรมหาชน √
มูลนิธิชัยพัฒนา มูลนิธิส่งเสริมศิลปาชีพ มูลนิธิสายใจไทย √
ธนาคารแห่งประเทศไทย ธนาคารพาณิชย์ บริษัทเงินทุน √
บริษัทเครดิตฟองซิเอร์ บริษัทบริหารสินทรัพย์ นิติบุคคลที่ประกอบ
ธุรกิจสัญญาซื้อขายล่วงหน้า ธุรกิจซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า
บริษัทหลักทรัพย์ บริษัทประกันวินาศภัย นิติบุคคลเฉพาะกิจ √
เพื่อการแปลงสินทรัพย์เป็นหลักทรัพย์
กองทุนรวม กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ กองทุนบำเหน็จบำนาญ √
ข้าราชการ (กบข.) กองทุนประกันสังคม
บริษัทมหาชนที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ √
อาชีพหรือธุรกิจที่มีการรับเงินสดเป็นจำนวนมาก เช่น คาสิโน √
หรือบ่อนการพนัน รับแลกเปลี่ยนเงินตรา สถานบริการตามกฎหมาย
ว่าด้วยสถานบริการ
อาชีพหรือธุรกิจที่มีการซื้อ ขาย หรือแลกเปลี่ยนสินค้าที่มีราคาสูง √
โดยไม่มีแหล่งที่มาของเงินสดหรือสินค้าอย่างชัดเจน เช่น ค้าอัญมณี
เพชรพลอย ทองคำ ค้าของเก่าที่มีมูลค่าสูง
อาชีพนายหน้าจัดหางานซึ่งเกี่ยวข้องกับการรับคนเข้ามาทำงาน √
จากต่างประเทศ หรือส่งคนไปทำงานในต่างประเทศ
ธุรกิจนำเที่ยว √
ตารางที่ 1.14 ตัวอย่างการกำหนดระดับความเสี่ยงลูกค้าโดยใช้ปัจจัยความเสี่ยงจากการตรวจสอบข้อมูล
ระดับความเสี่ยง
ผลการตรวจสอบข้อมูล
ต่ำ ปานกลาง สูง
ลูกค้า ผู้รับผลประโยชน์ที่แท้จริง หรือผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องอย่างมี √√
นัยสำคัญของลูกค้า เป็นสมาชิกของคณะบุคคลซึ่งมีมติหรือประกาศ (สูง
ภายใต้มติของคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ กำหนดให้ มาก)
เป็นคณะบุคคลที่มีการกระทำอันเป็นการก่อการร้าย
ลูกค้าไม่ให้ข้อมูลหรือหลักฐาน ซึ่งมีความสำคัญในการระบุตัวตน √√
ของลูกค้าและจัดความเสี่ยงด้านการฟอกเงิน และการต่อต้านการ (สูง
สนับสนุนทางการเงินแก่การก่อการร้าย มาก)
ลูกค้าใช้ชื่อปลอม นามแฝง หรือลูกค้าแจ้งเท็จในข้อมูล หรือแสดง √√
หลักฐานสำคัญเป็นเท็จ (สูง
มาก)
คณะกรรมการกฎหมายและกฎระเบียบ ประจำปี 2566-2568
ตุลาคม 2567